counter





______________________________________________________________________________________________
๑.บทสวดนมัสการบูชาพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา 
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ) 

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม 
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ) 

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
สังฆัง นะมามิ (กราบ) 

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ

.บทสวดขอขมาพระรัตนตรัย

 นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ )
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง โดยชอบ (กราบ)

แบบที่ ๑

อุกาสะ อัจจะโย โน ภันเต อัชชะขะมามิ ยะถาพาเล ยะถามุฬเห ยะถาอะกุสะเล เย มะยัง กะรัมหา เอวัง ภันเต มะยัง อัจจะโย โน ปะฎิคคัณหะถะ อายะติง สังวะเรยยามิ เถเรปะมาเทนะ ทะวารัตตะเยนะกะตัง สัพพัง อะปะราทังขะมามิภันเต

ณ โอกาสบัดนี้ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอขมาโทษ ต่อพระรัตนตรัย ที่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ได้สบประมาทพลาดพลั้ง ต่อพระพุทธ ต่อพระธรรม ต่อพระสงฆ์ สมัยเป็นคนพาลคนหลง อกุศลเข้าสิงจิต ให้ทำความผิดต่อพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ผิดต่อคุณครูอาจารย์ ผิดต่อหลวงพ่อ หลวงปู่ หลวงน้า หลวงอา หลวงพี่ทั้งหลาย ขอจงอโหสิกรรมให้แก่ข้าพเจ้า ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป อย่ามีเวร เกิดชาติหนึ่งภพใด ขอให้ได้สร้างแต่กรรมดี สร้างบารมีของตน ให้พ้นภัยพาล ลุล่วงบ่วงมาร ในชาติปัจจุบันกาลนี้เทอญฯ

(บางที่กล่าวบทสวดนี้ว่า : อุกาสะ อุกาสะ อัจจะโยโนภันเต อัจจักคะมา ยะถาพาเล ยะถามูลเห ยะถาอะกุสะเล เยมะยัง กะรัมหา เอวัง ภัณเต มะยัง อัจจะโยโน ปะฏิคคัณหะถะ อายะติง สังวะเรยยามะฯ )

แบบที่ ๒

วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต

ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระพุทธเจ้า เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระองค์จงประทานอภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด
ข้าแต่พระธรรมอันเจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระธรรมเพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระธรรมจงให้อภัยโทษแก่ข้าพเจ้าด้วยเถิด
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอกราบไหว้พระสงฆ์เพื่อขอขมาโทษทั้งปวง ขอพระสงฆ์จงให้อภัยโทษแก่้ข้าพเจ้าด้วยเถิด

แบบที่ ๓

สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง  สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเต ฯ 

(ถ้าหลายคนว่า.....ขะมะตุ โน ภันเต, ฯลฯ.... , ขะมะตุ โน ภันเต , อุกาสะ ขะมามะ ภันเต ฯ )

หากข้าพระพุทธเจ้า ได้เคยประมาทพลาดพลั้งล่วงเกินต่อพระรัตนตรัย อันมีพระพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม และพระอริยสงฆ์ทั้งหลาย ในชาติก่อนก็ดี ชาตินี้ก็ดี ด้วยทางกายหรือวาจาก็ดี และด้วยเจตนาหรือไม่มีเจตนาก็ดี รู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดี ขอองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์ทั้งหลาย และผู้มีพระคุณทุกท่าน ได้โปรดลดโทษให้แก่ข้าพระพุทธเจ้าตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป ตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพานด้วยเทอญ ฯ

แบบที่ ๔

กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ,
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มายา ยัง, ธัมโม ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม,
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา,สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง, สังโฆ ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง,กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ.

ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใดที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระพุทธเจ้า, ขอพระพุทธเจ้า จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อสำรวมระวัง ในพระพุทธเจ้าในกาลต่อไป
ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใดที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระธรรม, ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อสำรวมระวัง ในพระธรรมในกาลต่อไป
ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใดที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระสงฆ์, ขอพระสงฆ์ จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อสำรวมระวัง ในพระสงฆ์ในกาลต่อไป

.บทสวดบูชาไตรสรณคมน์

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ 
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ 

ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ 
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ 

ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ 
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ 
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ 
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ 
กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ 
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ 
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ 
(ต่อไปพระผู้นำกล่าวรับว่า) 
อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ 
สีเลนะ สุคะติง ยันติ สีเลนะ โภคะสัมปะทา 
สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ตัสมา สีลัง วิโสธะเย 

พุทธะบูชา มหาเตชะวันโต 
ธัมมะบูชา มหาปัญโญ 
สังฆะบูชา มหาโภคะวาโห 
ติโลกะนาถัง อภิปูชะยามิ 

พุทธัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ 
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ 
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร 
ปูริสะทัมมสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ (กราบ) 
ธัมมัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ 
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก 
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติ (กราบ) 
สังฆัง ชีวิตัง ยาวะ นิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ 
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา 
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย 
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ (กราบ)

.พระคาถายอดพระกัณฑ์พระไตรปิฎก

๑. 
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วัจจะโส ภะคะวา 
อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วัจจะโส ภะคะวา 
อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน วัจจะโส ภะคะวา 
อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต วัจจะโส ภะคะวา 
อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วัจจะโส ภะคะวา 

๒. 
อะระหัง ตัง สะระณัง คัจฉามิ 
อะระหัง ตัง สิระสา นะมามิ 
สัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 
สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ 
วิชชาจะระณะสัมปันนัง สิระสา นะมามิ 
สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ 
สุคะตัง สิระสา นะมามิ 
โลกะวิทัง สะระณัง คัจฉามิ 
โลกะวิทัง สิระสา นะมามิ 

๓. 
อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วัจจะโส ภะคะวา 
อิติปิ โส ภะคะวา ปุริสะธัมมะสาระถิ วัจจะโส ภะคะวา 
อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง วัจจะโส ภะคะวา 
อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ วัจจะโส ภะคะวา 

๔. 
อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ 
อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ 
ปุริสะทัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ 
ปุริสะทัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิ 
สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ 
สัตถา เทวะมะนุสสานัง สิระสา นะมามิ 
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 
พุทธัง สิระสา นะมามิ 

๕. 
อิติปิ โส ภะคะวา รูปะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา 
อิติปิ โส ภะคะวา เวทะนาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา 
อิติปิ โส ภะคะวา สัญญาขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา 
อิติปิ โส ภะคะวา สังขาระขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา 
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมี จะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา 

๖. 
อิติปิ โส ภะคะวา ปะถะวีจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา 
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา เตโชจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา 
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา วาโยจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา 
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา อาโปจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา 
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา 
ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน 

๗. 
อิติปิ โส ภะคะวา ยามาธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา ตุสิตาธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระติธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 

๘. 
อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะมะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา ทุติยะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา จะตุตถะฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะมาฌานะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 

๙. 
อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะเนวะสัญญานา 
สัญญายะตะนะอะรูปาวะจะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณัญจายะตะนะ เนวะสัญญานา 
สัญญายะตะนะอะรูปาวะ จะระธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะ เนวะสัญญานา 
สัญญายะตะนะ อะรูปาวะ จะระธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน 

๑๐. 
อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปะฏิมัคคะธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคาปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะปะฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโน 

๑๑. 
อิติปิ โส ภะคะวา โสตาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา สะกิทาคาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคาอะระหัตตะ ปะฏิผะละธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโน 

๑๒. 
กุสะลา ธัมมา 
อิติปิ โส ภะคะวา 
อะ อา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 
ชมภูทีปัญจะอิสสะโร 
กุสะลา ธัมมา 
นะโม พุทธายะ 
นะโม ธัมมายะ 
นะโม สังฆายะ 
ปัญจะ พุทธา นะมามิหัง 
อา ปา มะ จุ ปะ 
ที มะ สัง อัง ขุ 
สัง วิ ธา ปุ กะ ยะ ปะ 
อุ ปะ สะ ชะ สุ เห ปา สา ยะ 
โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิ 
เต ชะ สุ เน มะ ภู จะ นา วิ เว 
อะ สัง วิ สุ โล ปุ สะ ภุ พะ 
อิ สวา สุ สุ สวา อิ 
กุสะลา ธัมมา 
จิตติวิอัตถิ 

๑๓. 
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง 
อะ อา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 
สา โพธิ ปัญจะ อิสาะโร ธัมมา 

๑๔. 
กุสะลา ธัมมา 
นันทะวิวังโก 
อิติ สัมมาพุทโธ 
สุ คะ ลา โน ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 
จาตุมะหาราชิกา อิสสะโร 
กุสะลา ธัมมา 
อิติ วิชชาจะระณะสัมปันโน 
อุ อุ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 
ตาวะติงสา อิสสะโร 
กุสะลา ธัมมา 
นันทะ ปัญจะ สุคะโต โลกะวิทู 
มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 
ยามา อิสสะโร 
กุสะลา ธัมมา 
พรหมมาสัททะ 
ปัญจะ สัตตะ 
สัตตาปาระมี 
อะนุตตะโร 
ยะมะกะขะ 
ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 

๑๕. 
ตุสิตา อิสสะโร 
กุสะลา ธัมมา 
ปุ ยะ ปะ กะ 
ปุริสะทัมมะสาระถิ 
ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 

๑๖. 
นิมมานะระติ อิสสะโร 
กุสะลา ธัมมา 
เหตุโปวะ 
สัตถา เทวะมะนุสสานัง 
ตะถา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 

๑๗. 
ปะระนิมมิตะ อิสสะโร 
กุสะลา ธัมมา 
สังขาระขันโธ 
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา 
รูปะขันโธ พุทธะปะผะ 
ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 

๑๘. 
พรหมมา อิสสะโร 
กุสะลา ธัมมา 
นัจจิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา ยาวะนิพพานัง สะระณัง คัจฉามิ 
นะโม พุทธัสสะ 
นะโม ธัมมัสสะ 
นะโม สังฆัสสะ 
พุทธิลา โลกะลา กะระกะนา 
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ 
หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ ฯ 

๑๙. 
นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ 
วิตติ วิตติ วิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ 
อัตติ อัตติ มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ 
หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ 

๒๐. 
อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง 
พรหมะสาวัง มะหาพรหมะสาวัง 
จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง 
เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง 
อิสิสาวัง มะหาอิสิสาวัง 
มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง 
สัปปุริสาวัง มะหาสัปปุริสาวัง 
พุทธะสาวัง ปัจเจกะพุทธะสาวัง 
อะระหัตตะสาวัง สัพพะสิทธิวิชชาธะรานังสาวัง สัพพะโลกา 
อิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ 

๒๑. 
สาวัง คุณัง วะชะพะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิกัมมัง นิพพานัง 
โมกขัง คุยหะกัง 
ถานัง สีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ตัปปัง สุขัง 
สิริรูปัง จะตุวีสะติเสนัง 
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ 
หุลู หุลู หุลู สะวาหายะ 

๒๒. 
นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ 
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ 
สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ 
นะโม อิติปิโส ภะคะวา 

๒๓. 
นะโม พุทธัสสะ 
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ 
สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ 
นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม 

๒๔. 
นะโม ธัมมัสสะ 
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ 
สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ 
นะโม สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม 

๒๕. 
นะโม ธัมมัสสะ 
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ 
สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ 
นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 

๒๖. 
นะโม สังฆัสสะ 
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ 
สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ 
นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ วาหะปะริตตัง 

๒๗. 
นะโม พุทธายะ 
มะอะอุ 
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา 
ยาวะ ตัสสะ หาโย 
นะโม อุอะมะ 
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา 
อุ อะมะ อาวันทา 
นะโม พุทธายะ 
นะ อะ กะ ติ นิ สะ ระ นะ 
อา ระ ปะ ขุ ธัง มะ อะ อุ 
ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา

.บทสวดธัมมะจักร

ธัมมะจักรนี้ถ้าท่านใดได้สวดจะทำให้ชีวิตเจริญรุ่งเรือง ไม่ว่าจะเป็นกิจการงานแขนงไหนที่ทำอยู่จะมีความเจริญก้าวหน้า เพราะว่าธัมมะจักรเป็นพระธรรมเทศนากัณฑ์แรกที่พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงโปรดนักบวชปัญจวคีย์ และยังเป็นวงล้อที่หมุนเป็นครั้งแรกของพระพุทธศาสนา จึงนับว่าเป็นการลำบากที่ผู้คนทั้งหลายจะได้สวด และยังจะเป็นการเปลื้องทุกข์ภัยต่างๆ นานาได้อีกด้วย สิ่งร้ายจะกลายเป็นดีและยังทำให้มีอายุยืน มีความสุขกาย สุขใจ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัย 

ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ยามานัง เทวานัง 
ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะ มะนุสสาเวสุง ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
พรหมะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะกายิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
พรหมะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะปาริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
พรหมะปุโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะปุโร หิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
มะหาพรหมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง มะหาพรหมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
อาภัสสะระ เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
สุภะกิณหะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุภะกิณหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
อสัญญะสัตตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อสัญญะสัตตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา 
อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง 
เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสสะมินติ

.บทสวดทำวัตรเช้า

หมายเหตุ คำบาลีในวงเล็บใช้สำหรับผู้สวดภาวนาที่เป็นสตรี 

เริ่มด้วยการบูชาพระรัตนตรัยว่า 

โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ 
สวากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม 
สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง 
อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ 
สาธุ โน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ 
ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา 
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ 
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ 

(แต่ถ้าแบบธรรมยุตพระเถระจะเริ่มจากที่นี่) 
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา 
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ) 
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม 
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ) 
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
สังฆัง นะมามิ (กราบ) 

(เฉพาะแบบธรรมยุต-ผู้สวดนำกล่าวผู้เดียวว่า ยะมัมหะ โข มะยัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา โย โน ภะคะวา สัตถา ยัสสะ จะ มะยัง ภะคะวะโต ธัมมัง โรเจมะ อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง สะสัทธัมมัง สะสาวะกะสังฆัง อะภิปูชะยามะ) 

ปุพพภาคนมการ 

(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส) 
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (๓ จบ) 

พุทธาภิถุติ 

(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง พุทธาภิถุติง กะโรมะ เส) 

โย โส ตะถาคะโต อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ 
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร 
ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง 
พุทโธ ภะคะวา โย อิมัง โลกัง สะเทวะกัง สะมาระกัง 
สะพรหมะกัง สัสสะมะณะพราหมะณิง ปะชัง สะเทวะมะนุสสัง 
สะยัง อะภิญญา สัจฉิกัตวา ปะเวเทสิ โย ธัมมัง เทเสสิ อาทิกัลยาณัง 
มัชเฌกัลยาณัง ปะริโยสานะกัลยาณัง สาตถัง สะพยัญชะนัง เกวะละปะริปุณณัง 
ปะริสุทธัง พรหมะจะริยัง ปะกาเสสิ ตะมะหัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ 
ตะมะหัง ภะคะวันตัง สิระสา นะมามิ (กราบ) 

ธัมมาภิถุติ 

(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง ธัมมาภิถุติง กะโรมะ เส) 

โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม 
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก 
ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหิ 
ตะมะหัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ ตะมะหัง ธัมมัง สิระสา นะมามิ (กราบ) 

สังฆาภิถุติ 

(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง สังฆาภิถุติง กะโรมะ เส) 

โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา 
เอสะภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลิกะระณีโย 
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสะ 
ตะมะหัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ 
ตะมะหัง สังฆัง สิระสา นะมามิ (กราบ แล้วนั่งราบ) 

รตนัตตยัปปณามคาถา 

(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง ระตะนัตตะยัปปะณามะคาถาโย เจวะ สังเวคะวัตถุปะริทีปะกะปาฐัญจะ ภะณามะ เส) 

พุทโธ สุสุทโธ กะรุณามะหัณณะโว 
โยจจันตะสุทธัพพะระญาณะโลจะโน 
โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะฆาตะโก 
วันทามิ พุทธัง อะหะมาทะเรนะ ตัง 
ธัมโม ปะทีโป วิยะ ตัสสะ สัตถุโน โย 
มัคคะปากามะตะเภทะภินนะโก 
โลกุตตะโร โย จะ ตะทัตถะทีปะโน 
วันทามิ ธัมมัง อะหะมาทะเรนะ ตัง 
สังโฆ สุเขตาภยะติเขตตะสัญญิโต 
โย ทิฏฐะสันโต สุคะตานุโพธะโก 
โลลัปปะหีโน อะริโย สุเมธะโส 
วันทามิ สังฆัง อะหะมาทะเรนะ ตัง 
อิจเจวะเมกันตะภิปูชะเนยยะกัง วัตถุตตะยัง 
วันทะยะตาภิสังขะตัง ปุญญัง มะยา ยัง 
มะมะ สัพพุปัททะวา มา โหนตุ เว ตัสสะ ปะภาวะสิทธิยา 

สังเวคปริกิตตนปาฐะ 

อิธะ ตะถาคะโต โลเก อุปปันโน 
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ 
ธัมโม จะ เทสีโต นิยยานิโก 
อุปะสะมิโก ปะรินิพพานิโก สัมโพธะคามี สุคะตัปปะเวทิโต 
มะยันตัง ธัมมัง สุตวา เอวัง ชานามะ ชาติปิ ทุกขา ชะราปิ ทุกขา มะระณัมปิ ทุกขัง 
โสกะปะริเทวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสาปิ ทุกขา 
อัปปิเยหิ สัมปะโยโค ทุกโข ปิเยหิ วิปปะโยโค ทุกโข 
ยัมปิจฉัง นะ ละภะติ ตัมปิ ทุกขัง 
สังขิตเตนะ ปัญจุปาทานักขันธา ทุกขา 
เสยยะถีทัง 
รูปูปาทานักขันโธ เวทะนูปาทานักขันโธ 
สัญญูปาทานักขันโธ สังขารูปาทานักขันโธ วิญญาณูปาทานักขันโธ 
เยสังปะริญญายะ ธะระมาโน โส ภะคะวา 
เอวัง พะหุลัง สาวเก วิเนติ 
เอวัง ภาคา จะ ปะนัสสะ ภะคะวะโต สาวะเกสุ 
อะนุสาสะนี พะหุลา ปะวัตตะติ 
รูปัง อะนิจจัง เวทะนา อะนิจจา สัญญา อะนิจจา 
สังขารา อะนิจจา วิญญาณัง อะนิจจา 
รูปัง อะนัตตา เวทะนา อะนัตตา สัญญา อะนัตตา 
สังขารา อะนัตตา วิญญาณัง อะนัตตา 
สัพเพ สังขารา อะนิจจา สัพเพ ธัมมา อะนัตตาติ 
เต (ตา) มะยัง โอติณณามหะ ชาติยา ชะรามะระเณนะ 
โสเกหิ ปะริเทเวหิ ทุกเขหิ โทมะนัสเสหิ อุปายาเสหิ 
ทุกโขติณณา ทุกขะปะเรตา อัปเปวะนามิมัสสะ เกวะลัสสะ 
ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยา ปัญญาเยถาติ 
จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง 
ภะคะวันตัง สะระณังคะตา 
ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ 
ตัสสะ ภะคะวะโต สาสะนัง ยะถาสะติ ยะถาพะลัง 
มะนะสิกะโรมะ อะนุปะฏิปัชชามะ 
สา สา โน ปะฏิปัตติ 
อิมัสสะ เกวะลัสสะ ทุกขักขันธัสสะ อันตะกิริยายะ สังวัตตะตุ 

*จบทำวัตรเช้า แต่อาจต่อด้วยคาถากรวดน้ำตอนเช้าดังนี้ (มีข้อสังเกตุว่ามีหลายสำนวนด้วยกันและจะไม่เหมือนกัน) 


สัพพปัตติทานคาถา (กรวดน้ำระลึกพระคุณ) 

(ผู้นำสวดเริ่มว่า หันทะ มะยัง สัพพะปัตติทานะคาถาโย ภะณามะ เส) 
ปุญญัสสิทานิ กะตัสสะ ยานัญญานิ กะตานิ เม 
เตสัญจะ ภาคิโน โหนตุ สัตตานันตาปปะมาณะกะ 
เย ปิยา คุณะวันตา จะ มัยหัง มาตาปิตาทะโย 
ทิฏฐา เม จาปยะทิฏฐิ วา อัญเญ มัชฌัตตะเวริโน 
สัตตา ติฏฐันติ โลกัสมิง เต ภุมมา จะตุโยนิกา 
ปัญเจกะจะตุโวการา สังสะรันตา ภะวาภะเว 
ญาตัง เย ปัตติทานัมเม อะนุโมทันตุ เต สะยัง 
เย จิมัง นัปปะชานันติ เทวา เตสัง นิเวทะยุง 
มะยา ทินนานะ ปุญญานัง อะนุโมทะนะ เหตุนา 
สัพเพ สัตตา สะทา โหนตุ อะเวรา สุขะชีวิโน 
เขมัปปะทัญจะ ปัปโปนตุ เตสาสา สิชฌะตัง สุภา (จบแล้วกล่าวเพิ่มว่า) 
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา 
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ) 
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ) 
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆังนะมามิ (กราบ) 
มาตาปิตุอุปัฏฐานัง อะหัง วันทามิ (กราบ) 
คะรุอุปัชฌายะอาจาริยะคุณัง อะหัง วันทามิ (กราบ)

.บทสวดทำวัตรเย็น

หมายเหตุ คำบาลีในวงเล็บใช้สำหรับผู้สวดภาวนาที่เป็นสตรี 

เริ่มด้วยการบูชาพระรัตนตรัยว่า 

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา 
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ) 
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม 
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ) 
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
สังฆัง นะมามิ (กราบ) 

(เฉพาะแบบธรรมยุติ-ผู้สวดนำกล่าวผู้เดียวว่า ยะมัมหะ โข มะยัง ภะคะวันตัง สะระณัง คะตา โย โน ภะคะวา สัตถา ยัสสะ จะ มะยัง ภะคะวะโต ธัมมัง โรเจมะ อิเมหิ สักกาเรหิ ตัง ภะคะวันตัง สะสัทธัมมัง สะสาวะกะสังฆัง อะภิปูชะยามะ) 

ปุพพภาคนมการ 

(แบบธรรมยุตผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะทานิ มะยันตัง ภะคะวันตัง วาจายะ อภิคายิตุง ปุพพะภาคะ นะมะการัญเจวะ พุทธานุสสะตินะยัญจะ กะโรมะ เส) 
(แบบมหานิกายผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง พุทธัสสะ ภะคะวะโต ปุพพะภาคะนะมะการัง กะโรมะ เส) 
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต 
อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (ว่า ๓ จบแล้วกราบ 3 ครั้ง) 

พุทธานุสสติ 

(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง พุทธานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส) 

ตัง โข ปะนะ ภะคะวันตัง 
เอวัง กัลยาโณ กิตติสัทโท อัพภุคคะโต 
อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ 
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู 
อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ 
สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ 

พุทธาภิคีติ 
(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง พุทธาภิคีติง กะโรมะ เส) 

พุทธะวาระหันตะวะระตาทิคุณาภิยุตโต 
สุทธาภิญาณะกะรุณาหิ สะมาคะตัตโต 
โพเธสิ โย สุชะนะตังกะมะลังวะ สูโร 
วันทามะหัง ตะมะระณัง สิระสา ชิเนนทัง 
พุทโธ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง 
ปะฐะมานุสสติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง 
พุทธัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ พุทโธ เม สามิกิสสะโร 
พุทโธ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม 
พุทธัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง 
วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ พุทธัสเสวะ สุโพธิตัง 
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง พุทโธ เม สะระณัง วะรัง 
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุสาสะเน 
พุทธัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยังปุญญัง ปะสุตัง อิธะ 
สัพเพปิ อันตะระยา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา 

(หมอบกราบแล้วสวดดังนี้ หนึ่งครั้ง) 
กาเยนะ วาจายะ วะเจตะสา วา 
พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยายัง 
พุทโธ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะ ยันตัง 
กาลันตะเร สังวะริตุง วะพุทเธ 

ธัมมานุสสติ 

(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง ธัมมานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส) 

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม 
สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก 
โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติ 

ธัมมาภิคีติ 

(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง ธัมมาภิคีติง กะโรมะ เส) 

สวากขาตะตาทิคุณะโยคะวะเสนะ เสยโย 
โย มัคคะปากะปะริยัตติวิโมกขะเภโท 
ธัมโม กุโลกะปะตะนา ตะทะธาริธารี 
วันทามะหัง ตะมะหะรัง วะระธัมมะเมตัง 
ธัมโม โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง 
ทุติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง 
ธัมมัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ ธัมโม เม สามิกิสสะโร 
ธัมโม ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม 
ธัมมัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง 
วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ ธัมมัสเสวะ สุธัมมะตัง 
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง ธัมโม เม สะระณัง วะรัง 
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน 
ธัมมัง เมวันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ 
สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา 

(หมอบกราบแล้วสวดดังนี้ หนึ่งครั้ง) 
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา 
ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง 
ธัมโม ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง 
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม 

สังฆานุสสติ 

(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง สังฆานุสสะตินะยัง กะโรมะ เส) 

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา 
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
อายุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย 
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสา ติ 

สังฆาภิคีติ 

(ผู้สวดนำเริ่มว่า หันทะ มะยัง สังฆาภิคีติง กะโรมะ เส) 

สัทธัมมะโช สุปะฏิปัตติคุณาทิยุตโต 
โยฏฐัพพิโธ อะริยะปุคคะละสังฆะเสฏโฐ 
สีลาทิธัมมะปะวะราสะยะกายะจิตโต 
วันทามะหัง ตะมะริยานะคะณัง สุสุทธัง 
สังโฆ โย สัพพะปาณีนัง สะระณัง เขมะมุตตะมัง 
ตะติยานุสสะติฏฐานัง วันทามิ ตัง สิเรนะหัง 
สังฆัสสาหัสมิ ทาโส (ทาสี) วะ สังโฆ เม สามิกิสสะโร 
สังโฆ ทุกขัสสะ ฆาตา จะ วิธาตา จะ หิตัสสะ เม 
สังฆัสสาหัง นิยยาเทมิ สะรีรัญชีวิตัญจิทัง 
วันทันโตหัง (ตีหัง) จะริสสามิ สังฆัสโสปะฏิปันนะตัง 
นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง สังโฆ เม สะระณัง วะรัง 
เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ วัฑเฒยยัง สัตถุ สาสะเน 
สังฆัง เม วันทะมาเนนะ (มานายะ) ยัง ปุญญัง ปะสุตัง อิธะ 
สัพเพปิ อันตะรายา เม มาเหสุง ตัสสะ เตชะสา 

(หมอบกราบแล้วสวดดังนี้ หนึ่งครั้ง) 
กาเยนะ วาจายะ เจตะสา วา 
สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มายา ยัง 
สังโฆ ปะฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง 
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ

.บทสวดแผ่เมตตาให้สรรพสัตว์

สัพเพ สัตตา อะเวรา โหนตุ 
อัพพะยาปัชฌา โหนตุ 
อะนีฆา โหนตุ 
สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ 

คำแปล 

สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น 
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย 
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย 
จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด อย่าได้มีความทุกข์กายทุกข์ใจเลย 
จงมีความสุขกาย สุขใจ รักษาตนให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเทอญ

.บทสวดแผ่เมตตาพรหมวิหารสี่

แผ่เมตตา 

สัพเพ สัตตา 
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น 

อะเวรา โหนตุ 
จงเป็นผู้ไม่มีเวรแก่กันและกันเถิด 

อัพยาปัชฌา โหนตุ 
จงเป็นผู้ไม่เบียดเบียนซึ่งกันและกัน 

อะนีฆา โหนตุ 
จงเป็นผู้ไม่มีทุกข์กาย ทุกข์ใจเถิด 

สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ 
จงเป็นผู้มีสุข พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้นเถิด 

บทกรุณา 

สัพเพ สัตตา 
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น 

สัพพะทุกขา ปะมุจจันตุ 
จงพ้นจากทุกข์เถิด 

บทมุทิตา 

สัพเพ สัตตา 
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกันทั้งสิ้น 

มา ลัทธะสัมปัตติโต วิมุจจันตุ 
จงอย่าไปปราศจากสมบัติอันตนได้แล้วเถิด 

บทอุเบกขา 
สัพเพ สัตตา 
สัตว์ทั้งหลายที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ทั้งสิ้น 

กัมมัสสะกา 
เป็นผู้มีกรรมเป็นของของตน 

กัมมะทายาทา 
เป็นผู้รับผลของกรรม 

กัมมะโยนิ 
เป็นผู้มีกรรมเป็นกำเนิด 

กัมมะพันธุ 
เป็นผู้มีกรรมเป็นเผ่าพันธุ์ 

กัมมะปะฏิสะระณา 
เป็นผู้มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย 

ยัง กัมมัง กะริสสันติ 
กระทำกรรมอันใดไว้ 

กัลยาณัง วา ปาปะกัง วา 
ดีหรือชั่ว 

ตัสสะ ทายาทา ภะวิสสันติ 
จักเป็นผู้รับผลของกรรมนั้น

o.บทสวดแผ่เมตตาให้ตนเอง

อะหัง สุขิโต โหมิ 
อะหัง นิททุกโข โหมิ 
อะหัง อะเวโร โหมิ 
อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ 
สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ 

ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข 
ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากความทุกข์ 
ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากเวร 
ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากอุปสรรคอันตรายทั้งปวง 
ขอให้ข้าพเจ้าจงมีความสุขกายสุขใจ รักษากายวาจาใจให้พันจากความทุกข์ภัยทั้งปวงเถิด

๑๑.บทกรวดน้ำให้เจ้ากรรมนายเวร

เมื่อเสร็จพิธีทำบุญและพระสงฆ์กล่าวรับแล้วให้กรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลให้กับเจ้ากรรมนายเวรของเราโดยว่าดังนี้ 
ข้าพเจ้าขออุทิศบุญกุศลจากการเจริญภาวนานี้ให้แก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายของข้าพเจ้า ที่ข้าพเจ้าได้เคยล่วงเกินท่านไว้ ตั้งแต่อดีตชาติจนถึงปัจจุบันชาติ ท่านจะอยู่ภพใดหรือภูมิใดก็ตาม ขอให้ท่านได้รับผลบุญนี้ แล้วโปรดอโหสิกรรม และอนุโมทนายบุญแก่ข้าพเจ้าด้วยอำนาจบุญนี้ด้วยเทอญ

๑๒.บทสวดแผ่ส่วนบุญส่วนกุศล

อิทัง เม มาตาปิตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตาปิตะโร 
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่มารดา บิดาของข้าพเจ้า ขอให้มารดา บิดาของข้าพเจ้ามีความสุข 

อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย 
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอให้ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้ามีความสุข 

อิทัง เม คุรูปัชฌายาจริยานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ คุรูปัชฌายาจริยา 
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้า ขอให้ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ของข้าพเจ้ามีความสุข 

อิทัง สัพพะเทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเทวา 
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เทวดาทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เทวดาทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข 

อิทัง สัพพะเปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เปตา 
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เปรตทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เปรตทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข 

อิทัง สัพพะเวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพเวรี 
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง ขอให้เจ้ากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวงมีความสุข 

อิทัง สัพพะสัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ สัตตา 
ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง ขอให้สัตว์ทั้งหลายทั้งปวงมีความสุขทั่วหน้ากันเทอญ

๑๓.พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุง)

พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท 

คำแปล พระจอมมุนี ได้เอาชนะพระยามารผู้เนรมิตแขนมากตั้งพัน ถืออาวุธครบทุกมือ ขี่ช้าง 
ครีเมขละ มาพร้อมกับเหล่าเสนามารซึ่งโห่ร้องกึกก้อง ด้วยวิธีอธิษฐานถึงทานบารมี เป็นต้น 

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ 

คำแปล ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ 

มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท 

คำแปล อนึ่ง พระจอมมุนี ได้เอาชนะยักษ์ชื่อ อาฬวกะ ผู้มีจิตหยาบกระด้าง ผู้ไม่มีความอดทน มีความพิลึกน่ากลัวกว่าพระยามาร ซึ่งได้เข้ามาต่อสู้อย่างยิ่งยวดจนตลอดคืนยันรุ่ง ด้วยวิธีทรมานอันดี คือขันติความอดทน 

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ 

คำแปล ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ 

นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท 

คำแปล พระจอมมุนี ได้เอาชนะช้างตัวประเสริฐชื่อ นาฬาคิรี ที่เมายิ่งนัก และแสนจะดุร้าย ประดุจไฟป่าและจักราวุธและสายฟ้า ด้วยวิธีรดลงด้วยน้ำคือ ความมีพระทัยเมตตา 

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ 

คำแปล ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิดฯ 

อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะ สุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท 

คำแปล พระจอมมุนี ทรงคิดจะแสดงฤทธิ์ปาฏิหารย์ จึงได้เอาชนะโจรชื่อ องคุลิ-มาล ผู้แสนจะดุร้าย มีฝีมือ ถือดาบวิ่งไล่พระองค์ไปสิ้นระยะทาง ๓ โยชน์ 

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ 

คำแปล ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ 

กัตวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท 

คำแปล พระจอมมุนี ได้เอาชนะคำกล่าวใส่ร้ายของ นางจิญจมาณวิกา ซึ่งทำอาการเหมือนดั่งมีครรภ์ เพราะเอาท่อนไม้กลมผูกไว้ที่หน้าท้อง ด้วยวิธีทรงสมาธิอันงาม คือความกระทำพระทัยให้ตั้งมั่นนิ่งเฉย ในท่ามกลางหมู่ชน 

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ 

คำแปล ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ 

สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท 

คำแปล พระจอมมุนีผู้รุ่งเรืองด้วยแสงสว่างคือปัญญา ได้เอาชนะ สัจจกะนิครนถ์ ผู้มีความคิดมุ่งหมาย ในอันจะละทิ้งความสัตย์ มีใจคิดจะยกถ้อยคำของตนให้สูงประดุจยกธง และมีใจมืดมนยิ่งนัก ด้วยการแสดงเทศนาให้ถูกใจ 

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ 

คำแปล ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ 

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท 

คำแปล พระจอมมุนี ได้เอาชนะพญานาคราชชื่อ นันโทปนันทะ ผู้มีความรู้ผิดมีฤทธิ์มาก ด้วยวิธี บอกอุบายให้พระโมคคัลลานเถระพุทธชิโนรส แสดงฤทธิ์เนรมิตกายเป็นนาคราช ไปทรมานพญานาค ชื่อ นันโทปนันทะนั้น 

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ 

คำแปล ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ 

ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท 

คำแปล พระจอมมุนี ได้เอาชนะพระพรหมผู้มีนามว่า ท้าวพกาพรหม ผู้มีฤทธิ์ คิดว่าตนเป็นผู้รุ่งเรือง ด้วยคุณอันบริสุทธิ์ ผู้ถูกพญานาครัดมือไว้แน่น เพราะมีจิตคิดถือเอาความเห็นผิด ด้วยวิธีวางยาคือทรงแสดงเทศนาให้ถูกใจ 

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ 

คำแปล ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแก่ท่าน ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้นเถิด ฯ 

เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญฯ 

คำแปล บุคคลใดมีปัญญา ไม่เกียจคร้าน สวดและระลึกถึงพระพุทธชัยมงคล ๘ คาถาเหล่านี้ทุก ๆ วัน บุคคลนั้นจะพึงละความจัญไรอันตรายทั้งหลายทุกอย่างเสียได้ และเข้าถึงความหลุดพ้นคือ พระนิพพานอันบรมสุขแล ฯ

๑๔.บทสวดมงคลจักรวาลใหญ่

 

สิริธิติมะติเตโชชะยะสิทธิ มะหิทธิมะหาคุณาปะริมิตะปุญญาธิการัสสะ 

สัพพันตะรายะนิวาระณะสะมัตถัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ทวัตติงสะมะหาปุริสะลักขะณานุภาเวนะ 

อะสีตยานุพยัญชะนานุภาเวนะ อัฏฐุตตะระสะตะมังคะลานุภาเวนะ ฉัพพัณณะรังสิยานุภาเวนะ 

เกตุมาลานุภาเวนะ ทะสะปาระมิตานุภาเวนะ ทะสะอุปะปาระมิตานุภาเวนะ ทะสะปะระมัตถะปาระมิตา 

นุภาะเวนะ สีละสะมาธิปัญญานุภาเวนะ พุทธานุภาเวนะ ธัมมานุภาเวนะ สังฆานุภาเวนะ เตชานุภาเวนะ 

อิทธานุภาเวนะ พะลานุภาเวนะ เญยยะธัมมานุภาเวนะ จะตุราสีติสะหัสสะ ธัมมักขันธานุภาเวนะ 

นะวะโลกุตตะระธัมมานุภาเวนะ อัฏฐังคิกะมัคคานุภาเวนะ อัฏฐะสะมาปัตติยานุภาเวนะ 

ฉะฬะภิญญานุภาเวนะ จะตุสัจจะญาณานุภาเวนะ ทะสะพะละญาณานุภาเวนะ 

สัพพัญญุตะญาณานุภาเวนะ เมตตากะรุณามุทิตาอุเปกขานุภาเวนะ สัพพะปะริตตานุภาเวนะ 

ระตะนัตตะยะสะระณานุภาเวนะ ตุยหัง สัพพะโรคะโสกุปัททะวะทุกขะโทมะนัสสุปายาสา วินัสสันตุ 

สัพพะอันตะรายาปิ วินัสสันตุ สัพพะสังกัปปา ตุยหัง สะมิชฌันตุ 

ทีฆายุตา ตุยหัง โหตุ สะตะวัสสะชีเวนะ สะมังคิโก โหตุ สัพพะทา ฯ 

อากาสะปัพพะตะวะนะภูมิคังคามะหาสะมุททา อารักขะกา เทวะตา สะทา ตุมเห อะนุรักขันตุ ฯ 


ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา 
สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต 

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา 
สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต 

ภะวะตุ สัพพะ มังคะลัง รักขันตุ สัพพะ เทวะตา 
สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ 

นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปัคคะหะนิวาระณา 
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเว 

นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปัคคะหะนิวาระณา 
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเว 

นักขัตตะยักขะภูตานัง ปาปัคคะหะนิวาระณา 
ปะริตตัสสานุภาเวนะ หันตวา เตสัง อุปัททะเว ฯ

๑๕.บทสวดแผ่เมตตาตนเอง

อะหัง สุขิโต โหมิ 
อะหัง นิททุกโข โหมิ 
อะหัง อะเวโร โหมิ 
อะหัง อัพยาปัชโฌ โหมิ 
สุขี อัตตานัง ปะริหะรามิ 

คำแปล 

ขอให้ข้าพเจ้ามีความสุข 
ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากความทุกข์ 
ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากเวร 
ขอให้ข้าพเจ้าปราศจากอุปสรรคอันตรายทั้งปวง 
ขอให้ข้าพเจ้าจงมีความสุขกายสุขใจ รักษากายวาจาใจให้พันจากความทุกข์ภัยทั้งปวงเถิด

๑๖.บทสวดขอขมาและอธิษฐานจิต

 

สัพพัง อะปะระธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทะวารัตตะเย นะ กะตัง 
สัพพัง อะปะระธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเต 


หากเข้าเจ้า จงใจหรือประมาทพลาดพลั้งล่วงเกิน บิดา-มารดา ครูบาอาจารย์ พระพุทธ พระธรรม พระอรหันต์ทุกพระองค์ พระอริยสงฆ์เจ้า ตลอดจนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย รวมถึงผู้มีพระคุณ และท่านเจ้ากรรมนายเวร จะด้วย กาย วาจา ใจ ก็ดีขอได้โปรดอโหสิกรรมแก่ข้าพเจ้าด้วย 

หากข้าพเจ้ามีเจ้าของในตัวติดตามมาขออนุณาตมีคู่ มีครอบครัวได้เหมือนคนปกติทั่วไป ขอถอนคำอธิษฐาน คำสาบาน ที่จะติดตามคู่ในอดีต ขอให้ต่างฝ่ายต่างเป็นอิสระต่อกัน ข้าพเจ้าจะประพฤติตนในทางที่ถูก ที่ชอบ ที่ควร ขอบุญบารมีในอดีตกาลที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน จงส่งผลให้ข้าพเจ้าและครอบครัวตลอดจนบริวารที่เกี่ยวข้องจงเจริญด้วย อายุ วรรณะ สุขะ พละ ลาภ ยศ สุข สรรเสริญ สติปัญญา ปฏิภาณ ธนสารสมบัติ อุปสรรคใดๆ โรคภัยใดๆ ขอให้มลายสิ้น ขอให้ข้าพเจ้ามีความสว่างทั้งทางโลก และทางธรรม ตั้งแต่บัดนี้ตราบเข้าสู่พระนิพพาน เทอญ 

หากมีผู้ใดเคยสร้างเวรสร้างกรรมกับข้าพเจ้า ไม่ว่าจะชาติใดภพใดก็ตาม ข้าพเจ้ายินดีอโหสิกรรมให้ ขอถอนความพยาบาท ความอาฆาต และคำสาปแช่งในทุกชาติ ทุกภพ ขอให้ข้าพเจ้าพ้นจากคำสาปแช่งของปวงชน ของเจ้ากรรมนายเวร ขอให้พ้นนรกภูมิ พบแสงสว่างทั้งทางโลก และทางธรรม เทอญ

๑๗.บทสวดชุมนุมเทวดา

บทนำ (สวดเจ็ดตำนาน ) 

สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง 

ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ ผะริตวานะ 
เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา อะวิกขิตตะจิตตา 
ปะริตตัง ภะณันตุ 


บทนำ (สวดสิบสองตำนาน) 

สะมันตา จักกะวาเฬสุ อัตราคัจฉันตุ เทวะตา


บทชุมนุมเทวดา ใช้เหมือนกันทั้งเจ็ดตำนานและสิบสองตำนาน)  

สัคเค กาเม จะรูเป คิริสิขะระตะเฏ 
จันตะลิกเข วิมาเน ทีเป รัฏเฐ จะ 
คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะ 
วัตถุมหิ เขตเต ภุมมา จายันตุ เทวา 
ชะละถะละ วิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา 
ติฏฐันตา สันติเกยัง มุนิวะระวะ จะนัง 
สาธะโว เม สุณันตุ 
ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา 
ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา 
ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา



บทนำ (สวดเจ็ดตำนาน)
"สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง ปะริตตานุภาโว สะทา รักขะตูติ ผะริตวานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ"
ท่านผู้เจริญทั้งหลาย  ผู้มีเมตตา  จงแผ่ไมตรีจิต  ด้วยคิดว่า  ขออานุภาพพระปริต  จงรักษาพระราชาผู้เป็นเจ้าแห่งนรชน  พร้อมราชสมบัติ  พร้อมพระราชวงษ์  พร้อมด้วยเสนาอำมาตย์  แล้วอย่ามีจิตฟุ้งซ่าน  ตั้งใจสวดพระปริต


บทนำ (สวดสิบสองตำนาน)  
"สะมันตา จักกะวาเฬสุ อัตราคัจฉันตุ เทวะตา" 
เทพยดาในรอบจักรวาลทั้งหลาย  จงมาประชุมกันในสถานที่นี้

บทชุมนุมเทวดา (ใช้เหมือนกันทั้งเจ็ดตำนานและสิบสองตำนาน) 
 

"สัคเค" ข้าพเจ้าขออัญเชิญหมู่เทพยดา  ซึ่งสิงสถิตอยู่ในฉกามาพจรสวรรค์

"กาเม" อยู่ในกามภพ

"จะ รูปเป"   อยู่ในรูปภพ  คือโสฬมหาพรหม

"คิริสิขะระตะเฏ"   อีกทั้งเทพเจ้าซึ่งสิงสถิตอญู่ในภูผาห้วยเหว  และคูหายอดคีรี

"จันตะลิกเข  วิมาเน"    อยู่ในอากาสวิมานมาศมณเทียรทอง 

"ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม"  สิงสถิตอยู่ในเกาะแก้วเมืองหลวง  และพระนครใหญ่น้อย 

"ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต"  สิงสถิตอยู่ใน เคหะสถานบ้านน้อยเมืองใหญ่ทั่วทุกชนบท 

"ภุมมา"   ซึ่งสิงสถิตปรากฏในโรงศาลพระภูมิเจ้าที่

"จายันตุ เทวา"  ข้าพเจ้าขออัญเชิญให้เร่งรีบเข้ามาในเวลาวันนี้ให้พร้อมกัน 

"ชะละถะละวิสะเม"   อีกทั้งเทพยดาเจ้าซึ่งสิงสถิตอยู่ใน ห้วยหนองคลองบึงบางแม่นำใหญ่ไพรพฤกษาทุกหย่อมหญ้าลดาวัลย์ที่เสมอกันก็ดี  ไม่เสมอกันก็ดี 

"ยักขะคันธัพพะนาคา"  ใช่แต่เท่านั้นเมื่อไร  มีอีกทั้งยักษาคนธรรพ์  ครุฑ  นาคา 

"ติฏฐันตา"  อีกทั้งเทพเจ้าซึ่งสิงสถิตอยู่ในสถานที่ใด ๆ

"สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง"   ข้าพเจ้าขออัญเชิญเข้ามายังสำนักแห่งนักปราชญ์  อาจสำแดงธรรม

"สาธะโว เม สุณันตุ"   ดูก่อนสัปบุรุษพุทธบริษัททั้งหลายถึงเวลาฤกษ์งามยามดี

"ธัมมัสสะวะนะกาโล"  ข้าพเจ้าขออัญเชิญให้เข้ามาสดับตรับฟังพระสัทธรรมพร้อมกัน

"อะยัมภะทันตา"  ดูก่อนท่านผู้ประเสริฐยอดยิ่งกว่ามนุษย์และเทวดา  ข้าพเจ้าขออัญเชิญมาประชุมให้พร้อมเพรียงกันในสถานนี้เถิด

"ธัมมัสสะวะนะกาโล"  ข้าพเจ้าขออัญเชิญให้เข้ามาสดับตรับฟังพระสัทธรรมพร้อมกัน

"อะยัมภะทันตา"  ดูก่อนท่านผู้ประเสริฐยอดยิ่งกว่ามนุษย์และเทวดา  ข้าพเจ้าขออัญเชิญมาประชุมให้พร้อมเพรียงกันในสถานนี้เถิด

"ธัมมัสสะวะนะกาโล"  ข้าพเจ้าขออัญเชิญให้เข้ามาสดับตรับฟังพระสัทธรรมพร้อมกัน

"อะยัมภะทันตา"  ดูก่อนท่านผู้ประเสริฐยอดยิ่งกว่ามนุษย์และเทวดา  ข้าพเจ้าขออัญเชิญมาประชุมให้พร้อมเพรียงกันในสถานนี้เถิด

๑๘.พระคาถาบารมี ๓๐ ทัศ

ทานะ ปาระมี สัมปันโน , ทานะ อุปะปารมี สัมปันโน , ทานะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา

สีละ ปาระมี สัมปันโน , สีละ อุปะปารมี สัมปันโน , สีละ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา

เนกขัมมะ ปาระมี สัมปันโน , เนกขัมมะ อุปะปารมี สัมปันโน , เนกขัมมะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา

ปัญญา ปาระมี สัมปันโน , ปัญญา อุปะปารมี สัมปันโน , ปัญญา ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา

วิริยะ ปาระมี สัมปันโน , วิริยะ อุปะปารมี สัมปันโน , วิริยะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา

ขันตี ปาระมี สัมปันโน , ขันตี อุปะปารมี สัมปันโน , ขันตี ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา

สัจจะ ปาระมี สัมปันโน , สัจจะ อุปะปารมี สัมปันโน , สัจจะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา

อะธิฏฐานะ ปาระมี สัมปันโน , อะธิฏฐานะ อุปะปารมี สัมปันโน , อะธิฏฐานะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา

เมตตา ปาระมี สัมปันโน , เมตตา อุปะปารมี สัมปันโน , เมตตา ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา

อุเปกขา ปาระมี สัมปันโน , อุเปกขา อุปะปารมี สัมปันโน , อุเปกขา ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา

ทะสะ ปาระมี สัมปันโน , ทะสะ อุปะปารมี สัมปันโน , ทะสะ ปะระมัตถะปารมี สัมปันโน
เมตตา ไมตรี กะรุณา มุทิตา อุเปกขา ปาระมีสัมปันโน , อิติปิ โส ภะคะวา 

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมังสะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ นะมามิหัง

คาถาบารมี 30 ทัศ (ย่อ)

อิติ ปาระมิตาติงวา อิติ สัพพัญญุมาคะตา
อิติ โพธิมะนุปปัตโต อิติปิโส จะ เต นะโม

๑๙.บทสวดกรวดน้ำ (อิมินา)

(บทนำ)  หันทะ มะยัง อุททิสะนาธิฏฐานะ     คาถาโย ภะณามะ เส ฯ

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ     อุปัชฌายา คุณุตตะรา
อาจะริยูปะการา จะ     มาตาปิตา จะ ญาตะกา
สุริโย จันทิมา ราชา  คุณะวันตา นะราปิ จะ
พ์รัห์มะมารา จะ อินทา จะตุ- โลกะปาลา จะ เทวะตา
ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ
สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ  ปุญญานิ ปะกะตานิ เม
สุขัญจะ ติวิธัง เทนตุ  ขิปปัง ปาเปถะ โว มะตัง
 
อิมินา ปุญญะกัมเมนะ    อิมินา อุททิเสนะ จะ
ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ    ตัณหุปาทานะเฉทะนัง
เย สันตาเน หินา ธัมมา   ยาวะ นิพพานะโต มะมัง
นัสสันตุ สัพพะทาเยวะ    ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว
อุชุจิตตัง สะติปัญญา    สัลเลโข วิริยัมหินา
มารา ละภันตุ โนกาสัง    กาตุญจะ วิริเยสุ เม
พุทธาทิปะวะโร นาโถ    ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม
นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ    สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง
เตโสตตะมานุภาเวนะ    มาโรกาสัง ละภันตุ มา ฯ

ความหมายบทกรวดน้ำ (อิมินา)

ในวรรคที่๑ เป็นการสวดไปให้แก่บุพการีชน คนมีอุปการะทั้งหลาย เช่น อุปัชฌาย์ อาจารย์ พ่อแม่ เป็นต้น รวมถึงพระอาทิตย์ พระจันทร์ พระราชา พระพรหม พระอินทร์ ท้าวจตุโลกบาล เทวดาทั้งหลาย พระยม ญาติสนิท มิตรสหาย และสรรพสัตว์ทั้งหลาย เป็นต้น ให้ได้รับส่วนบุญกุศลโดยทั่วกัน ดังความที่ท่านได้ประพันธ์เอาไว้ว่า

ด้วยบุญนี้ อุทิศนี้   อุปัชฌาย์ ผู้เลิศคุณ
แลอาจารย์ ผู้เกื้อหนุน ทั้งพ่อแม่ แลปวงญาติ
สูรย์จันทร์ แลราชา ผู้ทรงคุณ หรือสูงชาติ
พรหม มาร และอินทราช ทั้งทวยเทพ และโลกบาล
ยมราช มนุษย์มิตร ผู้เป็นกลาง ผู้จองผลาญ
ขอให้ เป็นสุขศานติ์ ทุกทั่วหน้า อย่าทุกข์ทน
บุญผอง ที่ข้าทำ จงช่วยอำ นวยศุภผล
ให้สุข สามอย่างล้น ให้ลุถึง นิพพานพลันฯ

ในวรรคที่ ๒ เป็นการสวดไปให้แก่ตนเอง ในฐานะที่เป็นผู้ประกอบกุศล ให้บรรลุทันทีซึ่งการตัดตัณหาอุปทาน ธรรมอันชั่วในสันดาน ขอจงพินาศไปหมดตราบเท่าถึงนิพพานสิ้นกาลทุกเมื่อ แม้หากยังไม่บรรลุคุณวิเศษใดๆ ก็ขอให้เป็นผู้มีจิตซื่อตรงดำรงสติปัญญาไว ชาญฉลาด ให้มีความเพียรแก่กล้า สามารถขัดเกลากิเลสให้สูญหายไปได้ ดังความที่ท่านประพันธ์ต่อจากวรรคที่ ๑ ว่า

ด้วยบุญนี้ ที่เราทำ แลอุทิศ ให้ปวงสัตว์
เราพลันได้ ซึ่งการตัด ตัวตัณหา อุปาทาน
สิ่งชั่ว ในดวงใจ กว่าเราจะ ถึงนิพพาน
มลายสิ้น จากสันดาน ทุกๆภพ ที่เราเกิด
มีจิตตรง และสติ ทั้งปัญญา อันประเสริฐ
พร้อมทั้ง ความเพียรเลิศ เป็นเครื่องขูด กิเลสหาย
โอกาส อย่าพึงมี แก่หมู่มาร สิ้นทั้งหลาย
เป็นช่อง ประทุษร้าย ทำลายล้าง ความเพียรจม
พระพุทธผู้ บวรนาถ พระธรรมที่ พึ่งอุดม
พระปัจเจกกะพุทธสม ทบพระสงฆ์ ที่พึ่งผยอง
ด้วยอานุภาพนั้น ขอหมู่มาร อย่างได้ช่อง
ด้วยเดชบุญ ทั้งสิบป้อง อย่าเปิดโอกาสแก่มารเทอญฯ

 



ก่อนอื่นให้จุดธูป ๑ ดอก แล้วอธิษฐานดังนี้ ข้าพเจ้า (ชื่อ...) ขออุทิศส่วนบุญส่วนกุศลที่ทำวันนี้ แก่ท่านทั้งหลายจงมารับเอาเถิด จากนั้นก็เอาธูปปักลงไปที่ดิน แล้วรินน้ำลงไปที่โคนธูป พร้อมท่องคาถากรวดน้ำตามไปด้วย ท่องไปจนกว่าจะจบในระหว่างที่ท่องคาถากรวดน้ำ ๆ หมดก่อนไม่เป็นไร ให้ท่องคาถากรวดน้ำไปจนกว่าจะจบบท (ท่องนะโม ๓ จบ แล้วท่องคาถากรวดน้ำดังนี้)

o.บทสวดธัมมะจักร

ภุมมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

จาตุมมะหาราชิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง จาตุมมะหาราชิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

ตาวะติงสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตาวะติงสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

ยามา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ยามานัง เทวานัง 

ตุสิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ตุสิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

นิมมานะระตี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง นิมมานะระตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี เทวา สัททะ มะนุสสาเวสุง ปะระนิมมิตะวะสะวัตตีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

พรหมะกายิกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะกายิกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

พรหมะปาริสัชชา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะปาริสัชชานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

พรหมะปุโรหิตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง พรหมะปุโร หิตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

มะหาพรหมา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง มะหาพรหมานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

ปะริตตาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ปะริตตาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

อัปปะมาณาภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณาภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

อาภัสสะระ เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อาภัสสะรานัง เทวานัง สัททัง สุตวา

ปะริตตะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง ปะริตตะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

อัปปะมาณะสุภา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อัปปะมาณะสุภานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

สุภะกิณหะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุภะกิณหะกานัง เทวานัง สัททัง สุตวา

อสัญญะสัตตา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อสัญญะสัตตานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

เวหัปผะลา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง เวหัปผะลานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

อะวิหา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อะวิหานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

อะตัปปา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง อะตัปปานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

สุทัสสา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุทัสสานัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

สุทัสสี เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง สุทัสสีนัง เทวานัง สัททัง สุตวา 

อะกะนิฏฐะกา เทวา สัททะมะนุสสาเวสุง 

เอตัมภะคะวะตา พาราณะสิยัง อิสิปะตะเน มิคะทาเย อะนุตตะรัง ธัมมะจักกัง 

ปะวัตติตัง อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา 

มาเรนะ วา พรหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสสะมินติ .

อัปปะฏิวัตติยัง สะมะเณนะ วา พราหมะเณนะ วา เทเวนะ วา มาเรนะ วา พรหมุนา วา เกนะจิ วา โลกัสสะมินติ



ธัมมะจักรนี้ถ้าท่านใดได้สวดจะทำให้ชีวิตเจริญรุ่งเรือง ไม่ว่าจะเป็นกิจการงาน แขนงไหนที่ทำอยู่จะมีความเจริญก้าวหน้า เพราะว่าธัมมะจักรเป็นพระธรรมเทศนากัณฑ์แรกที่พระพุทธเจ้าได้ทรงแสดงโปรดนักบวชปัญจวคีย์ และยังเป็นวงล้อที่หมุนเป็นครั้งแรกของพระพุทธศาสนา จึงนับว่าเป็นการลำบากที่ผู้คนทั้งหลายจะได้สวด และยังจะเป็นการเปลื้องทุกข์ภัยต่างๆ นานาได้อีกด้วย สิ่งร้ายจะกลายเป็นดีและยังทำให้มีอายุยืน มีความสุขกาย สุขใจ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัย

๒๑.พระคาถาชินบัญชร

ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วระลึกถึงหลวงปู่โตและตั้งคำอธิษฐานแล้วเริ่มสวด 

เริ่มสวด นโม ๓ จบ 

นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 

นึกถึงหลวงปู่โตแล้วตั้งอธิษฐาน 

ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง 
อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา 
อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ 
มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ 

เริ่มบทพระคาถาชินบัญชร 


ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง 
จะตุสัจจาสะภัง ระสัง        เย ปิวิงสุ นะราสะภา.

ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา 
สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา.

สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง       พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน 
สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร.

หะทะเย เม อะนุรุทโธ       สารีปุตโต จะทักขิเณ
โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง     โมคคัลลาโน จะ วามะเก. 

ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง       อาสุง อานันทะ ราหุโล
กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก.

เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง       สุริโย วะ ปะภังกะโร
นิสินโน สิริสัมปันโน       โสภิโต มุนิปุงคะโว

กุมาระกัสสโป เถโร        มะเหสี จิตตะ วาทะโก
โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร.

ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ       อุปาลี นันทะ สีวะลี
เถรา ปัญจะ อิเมชาตา        นะลาเต ติละกา มะมะ.

เสสาสีติ มะหาเถรา        วิชิตา ชินะสาวะกา
เอเตสีติ มะหาเถรา         ชิตะวันโต ชิโนระสา
ชะลันตา สีละเตเชนะ        อังคะมังเคสุ สัณฐิตา.

ระตะนัง ปุระโต อาสิ        ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง
ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง

ขันธะโมระปะริตตัญจะ       อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง 
อากาเส ฉะทะนัง อาสิ       เสสา ปาการะสัณฐิตา

ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา
วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา.

อะเสสา วินะยัง ยันตุ        อะนันตะชินะ เตชะสา
วะสะโต เม สะกิจเจนะ       สะทา สัมพุทธะปัญชะเร.

ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ       วิหะรันตัง มะฮี ตะเล 
สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา.

อิจเจวะมันโต           สุคุตโต สุรักโข
ชินานุภาเวนะ           ชิตุปัททะโว
ธัมมานุภาเวนะ          ชิตาริสังโฆ
สังฆานุภาเวนะ          ชิตันตะราโย
สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ.

๒๒.พระคาถาชินบัญชร (มีคำแปล)

 

เพื่อให้เกิดอานุภาพยิ่งขึ้น ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วระลึกถึงเจ้าพระคุณสมเด็จและตั้งคำอธิษฐานว่า 

ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง 
อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา 
อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ 
มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ 

เริ่มบทพระคาถาชินบัญชร 

๑.ชะยาสะนาคะตา พุทธา เชตะวา มารัง สะวาหะนัง 
จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เยปิวิงสุ นะราสะภา 

แปล พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลาย ผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์ ทรงพิชิตพระยามาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว เสวยอมตรสคือ อริยะสัจธรรมทั้งสี่ประการ เป็นผู้นำสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์ 

๒.ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา 
สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเก มุนิสสะรา 

แปล มี ๒๘ พระองค์คือ พระผู้ทรงพระนามว่า ตัณหังกรเป็นอาทิ พระพุทธเจ้าผู้จอมมุนีทั้งหมดนั้น 

๓.สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน 
สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร 

แปล ข้าพระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกล้า องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดิษฐานอยู่บนศีรษะพระธรรมอยู่ที่ดวงตาทั้งสอง พระสงฆ์ผู้เป็นอากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณอยู่ที่อก 

๔.หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ 
โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะวามะเก 

แปล พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจ พระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา พระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย พระอัญญาโกณทัญญะอยู่เบื้องหลัง 

๕.ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล 
กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเล 

แปล พระอานนท์กับพระราหุลอยู่หูขวา พระกัสสะปะกับพระมหานามะอยู่ที่หูซ้าย 

๖.เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร 
นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว 

แปล มุนีผู้ประเสริฐคือ พระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริดังพระอาทิตย์ส่องแสงอยู่ที่ทุกเส้นขน ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง 

๗.กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก 
โส มัยหัง วะทะเนนิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร 

แปล พระเถระกุมาระกัสสะปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากเป็นประจำ 

๘.ปุณโณ อังคุลิมาโลจะ อุปาลี นันทะสีวะลี 
เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเฏ ตีละกา มะมะ 

แปล พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวะลี พระเถระทั้ง ๕ นี้ จงปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก 

๙.เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา 
เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา 
ชะลันตา สีละเต เชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา 

แปล ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือผู้มีชัยและเป็นพระโอรส เป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้ทรงชัย แต่ละองค์ล้วน รุ่งเรืองไพโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดำรงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่ 

๑๐.ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะ 
ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง 

แปล พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้า พระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวา พระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย พระธชัคคะสูตรอยู่เบื้องหลัง 

๑๑.ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง 
อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา 

แปล พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตร เป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ 

๑๒.ชินนานา วะระสังยุตตา สัตตะปาการะลังกะตา 
วาตะปิตตาทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุ ปัททะวา 

แปล อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลาย นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ ผู้ประกอบพร้อมด้วยกำลังนานาชนิด มีศีลาทิคุณอันมั่นคง สัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกำแพงคุ้มครองเจ็ดชั้น 

๑๓.อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา 
วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร 

แปล ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้าไม่ว่าจะทำกิจการใดๆ เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัยอยู่ในพระบัญชรแวดวงกรงล้อม แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอโรคอุปัทวะทุกข์ทั้งภายนอกและภายใน อันเกิดแต่โรคร้าย คือ โรคลมและโรคดีเป็นต้น เป็นสมุฏฐานจงกำจัดให้พินาศไปอย่าได้เหลือ 

๑๔.ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮีตะเล 
สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ ต มะหาปุริสาสะภา 

แปล ขอพระมหาบุรุษผู้ทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น จงอภิบาลข้าพระพุทธเจ้า ผู้อยู่ในภาคพื้น ท่ามกลางพระชินบัญชร ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายในเป็นอันดีฉะนี้แล 

๑๕.อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข 
ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว 
ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ 
สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย 
สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะปัญชะเรติ 

แปล ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทวอันตรายใดๆ ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพุทธเจ้า ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพ แห่งพระสงฆ์ ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติ และรักษาดำเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดรเทอญฯ

 



พระคาถานี้เป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอดมาจากลังกา ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯค้นพบในคัมภีร์โบราณและได้ดัดแปลงแต่งเติมให้ดีขึ้นเป็นเอกลักษณ์พิเศษ ผู้ใดสวดภาวนาพระคาถานี้เป็นประจำสม่ำเสมอจะทำให้เกิดความสิริมงคลแก่ตนเอง ศัตรูไม่กล้ากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยต่างๆ เพื่อให้เกิดอานุภาพยิ่งขึ้น ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วระลึกถึงและตั้งคำอธิษฐานว่า ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ

๒๓.พระคาถามงคลจักรวาลทั้งแปดทิศ

 

อิมัสมิง มงคลจักรวาฬทั้งแปดทิศ ประสิทธิจงมาเป็นกำแพงแก้วทั้งเจ็ดชั้น มาป้องกันห้อมล้อมรอบครอบทั่ว 
อะนัตตา ราชะ เสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะสะหัสสานิ พุทธะชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุ 

อิมัสมิง มงคลจักรวาฬทั้งแปดทิศ ประสิทธิจงมาเป็นกำแพงแก้วทั้งเจ็ดชั้น มาป้องกันห้อมล้อมรอบครอบทั่ว 
อะนัตตา ราชะ เสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะสะหัสสานิ ธัมมะชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุ 

อิมัสมิง มงคลจักรวาฬทั้งแปดทิศ ประสิทธิจงมาเป็นกำแพงแก้วทั้งเจ็ดชั้น มาป้องกันห้อมล้อมรอบครอบทั่ว 
อะนัตตา ราชะ เสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะสะหัสสานิ ปัจเจกะพุทธะชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุ 

อิมัสมิง มงคลจักรวาฬทั้งแปดทิศ ประสิทธิจงมาเป็นกำแพงแก้วทั้งเจ็ดชั้น มาป้องกันห้อมล้อมรอบครอบทั่ว 
อะนัตตา ราชะ เสมานา เขตเต สะมันตา สะตะโยชะนะสะตะสะหัสสานิ สังฆะชาละปะริกเขตเต รักขันตุ สุรักขันตุ

๒๔.คาถาสะเดาะเคราะห์ (ต่ออายุ)

อิติปิ โส ภะคะวา พระอาทิตย์เทวา วิญญาณะสัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา พระจันทร์เทวา วิญญาณะสัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา พระอังคารเทวา วิญญาณะสัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา พระพุทธเทวา วิญญาณะสัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา พระพฤหัสเทวา วิญญาณะสัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา พระศุกร์เทวา วิญญาณะสัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา พระเสาร์เทวา วิญญาณะสัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา พระราหูเทวา วิญญาณะสัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา พระเกตุเทวา วิญญาณะสัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง 
อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ 
อิติปิ โส ภะคะวา วิชชาจะระณะสัมปันโน 
อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต 
อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู 
อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ 
อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะมะนุสสานัง 
อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ 
อิติปิ โส ภะคะวา ภะคะวา ภะคะวาติ


ให้ภาวนาทุกเช้า เย็น คนที่ดวงชะตาไม่ขาดก็ใช้ได้ ถือเป็นการต่อดวงชะตาชีวิต มีอานุภาพให้เกิดโชคลาภ และปราศจากอันตราย

๒๕.บทสวดบูชาพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา 
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ) 
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม 
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ) 
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
สังฆัง นะมามิ (กราบ) 

พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง ตรัสรู้โดยชอบได้โดยพระองค์เอง ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน 

พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว ข้าพเจ้าขอนมัสการพระธรรม 

พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสงฆ์

๒๖.คำกล่าวอาราธนาศีล ๕

มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ 
ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ 

ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ 
ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ 

ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ 
ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ 

ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอศีล ๕ ข้อพร้อมทั้งพระรัตนตรัยเพื่อประโยชน์แก่การจะรักษาต่างๆกัน

๒๗.คำกล่าวอารธนาพระปริตร

วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา 
สัพพะทุกขะวินาสายะ ปริตตัง พรูถะ มังคะลัง 

วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา 
สัพพะภะยะวินาสายะ ปริตตัง พรูถะ มังคะลัง 

วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา 
สัพพะโรคะวินาสายะ ปริตตัง พรูถะ มังคะลัง 

ขอพระสงฆ์ทั้งหลาย จงสวดพระปริตอันเป็นมงคลเพื่อป้องกันความวิบัติ เพื่อความสำเร็จในสมบัติทั้งปวง และเพื่อให้ทุกข์ทั้งปวงพินาศไป เพื่อให้ภัยทั้งปวงพินาศไป เพื่อให้โรคทั้งปวงพินาศไป

๒๘.คำกล่าวถวายพระพุทธรูป

อิมัง มะยัง ภันเต พุทธะรูปัง ภิกขุสังฆัสสะ 
โอโณชะยามะ สาธุ โน ภันเต ภิกขุสังโฆ 
อิมัง พุทธรูปัง ปะฏิคคันหาตุ อัมหากัง 
ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ 

ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย พระพุทธรูปแด่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับซึ่งพระพุทธรูปนี้ เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนานเทอญ

๒๙.คำกล่าวถวายข้าวพระพุทธ

อิมัง สูปะพยัญชะนะสัมปันนัง สาลีนัง 
โภชะนัง อุทะกัง วะรัง พุทธัสสะ ปูเชมิ 

ข้าพเจ้าขอบูชาด้วยโภชนะข้าวสาลี พร้อมด้วยแกงกับและน้ำอันประเสริฐนี้แด่พระพุทธเจ้า

o.คำกล่าวลาข้าวพระพุทธ

เสสัง มังคะลัง ยาจามิฯ 

ข้าพเจ้าขอคืนเศษอันเป็นมงคลนี้ ข้าพเจ้าขอภัตต์ที่เหลือที่เป็นมงคลด้วยเถิด

๓๑.บทสวด ๗ ตำนาน,๑๒ ตำนาน

บทสวดชุมนุมเทวดา พร้อมคำแปล
สะรัชชัง สะเสนัง สะพันธุง นะรินทัง ปะริตตังนุภาโว สะทา รักขะตูติ
ผะริตวานะ เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา อะวิกขิตตะจิตตา ปะริตตัง ภะณันตุ
ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ผู้มีเมตตา จงแผ่เมตตาจิต ด้วยคิดว่า
ขออานุภาพพระปริตร จงรักษาพระราชาผู้เป็นเจ้าแห่งนรชน
พร้อมด้วยราชสมบัติ พร้อมด้วยราชวงศ์ พร้อมด้วยเสนามาตย์
อย่ามีจิตฟุ้งซ่าน ตั้งใจสวดพระปริตร สัคเค กาเม จะ รูเป คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน
ขอเชิญเหล่าเทพเจ้าซึ่งสถิตย์อยู่ในสวรรค์ชั้นกามภพก็ดี รูปภพก็ดี
และภุมมเทวดา ซึ่งสถิตย์อยู่ในวิมานหรือยอดเขาและหุบผา ในอากาศก็ดี ทีเป รัฏเฐ จะ คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะวัตถุมหิ เขตเต
ในเกาะก็ดี ในแว่นแคว้นก็ดี ในบ้านก็ดี ในต้นพฤกษาและป่าชัฏก็ดี ในเรือนก็ดี ในที่ไร่นาก็ดี ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละวิสะเม ยักขะคันธัพพะนาคา
เทพยดาทั้งหลาย ซึ่งสถิตย์ตามภาคพื้นดิน รวมทั้งยักษ์ คนธรรพ์และพยานาคซึ่งสถิตย์อยู่ในน้ำ บนบก และที่อันไม่ราบเรียบ ก็ดี
ติฏฐันตา สันติเก ยัง มุนิวะระวะจะนัง สาธะโว เม สุณันตุ
ซึ่งอยู่ในที่ใกล้เคียง จงมาประชุมพร้อมกันในที่นี้
คำใดเป็นของพระมุนีผู้ประเสริฐ ท่านสาธุชนทั้งหลาย จงสดับคำข้าพเจ้านั้น ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา
ดูก่อน ท่านผู้เจริญทั้งหลาย กาลนี้เป็นกาลฟังธรรม ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา
ดูก่อน ท่านผู้เจริญทั้งหลาย กาลนี้เป็นกาลฟังธรรม ธัมมัสสะวะนะกาโล อะยัมภะทันตา
ดูก่อน ท่านผู้เจริญทั้งหลาย กาลนี้เป็นกาลฟังธรรม จบบทสวดชุมนุมเทวดา บทสวด นมการสิทธิคาถา พร้อมคำแปล โย จักขุมา โมหะมาลาปะกัฏโฐ, ท่านพระองค์ใดมีพระปัญญาจักษุขจัดมลทิน คือโมหะเสียแล้ว,
สามัง วะพุทโธ สุคะโต วิมุตโต, ได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าโดยลำพังพระองค์เอง, เสด็จไปดีพ้นไปแล้ว,
มารัสสะ ปาสา วินิโม จะยันโต ปาเปสิ เขมัง ชะนะตังวิเนยยัง, ทรงเปลื้องชุมนุมชนอันเป็นเวไนยจากบ่วงแห่งมาร,นำให้ถึงความเกษม,
พุทธังวะรันตัง สิระสานะมามิ, ข้าพระพุทธเจ้า ขอถวายนมัสการ พระพุทธเจ้าผู้บวร พระองค์นั้น,
โลกัสสะ นาถัญจะ วินายะกัญจะ, ผู้เป็นนาถะแลเป็นผู้นำแห่งโลก,
ตันเตชะสาเต ชะยะสิทธิ โหตุ, ด้วยเดชพระพุทธเจ้านั้น,ขอความสำเร็จแห่งชัยชนะจงมีแก่ท่าน,
สัพพันตะรายา จะวินาสะเมนตุ, แลขออันตรายทั้งมวลจงถึงความพินาศ,
ธัมโม ธะโช โย วิยะ ตัสสะ สัตถุ, พระธรรมเจ้าใดเป็นดุจธงชัยแห่งพระศาสดาพระองค์นั้น,
ทัสเสสิโลกัสสะ วิสุทธิมัคคัง, สำแดงทางแห่งความบริสุทธิ์แก่โลก,
นิยยานิโก ธัมมะธะรัสสะธารี, เป็นคุณอันนำยุคเข็ญ คุ้มครองชนผู้ทรงธรรม,
สาตาวะโห สันติกะโร สุจิณโณ, ประพฤติดีแล้ว นำความสุขมาทำความสงบ,
ธัมมัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ, ข้าพระพุทธเจ้าขอถวายนมัสการ พระธรรมอันบวรนั้น,
โมหัปปะทาลัง อุปะสันตะทาหัง, อันทำลายโมหะระงับความเร่าร้อน,
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ, ด้วยเดชพระธรรมเจ้านั้น ขอความสำเร็จแห่งชนะจงมีแก่ท่าน,
สัพพันตะรายา จะวินาสะเมนตุ, แลขออันตรายทั้งมวลจงถึงความพินาศ,
สัทธัมมะเสนาสุคะตานุโค โย, พระสงฆเจ้าใด,เป็นเสนาประกาศพระสัทธรรม, ดำเนินตามพระศาสดาผู้เสด็จดีแล้ว,
โลกัสสะ ปาปูปะกิเลสะเชตา, ผจญเสียซึ่งอุปกิเลสอันลามกของโลก,
สันโต สะยัง สันตินิโยชะโก จะ, เป็นผู้สงบเองด้วยประกอบผู้อื่นไว้ในความสงบด้วย,
สะวากขาตะธัมมัง วิทิตัง กะโรติ, ย่อมทำพระธรรม อันพระศาสดาตรัสดีแล้ว ให้มีผู้รู้ตาม,
สังฆัง วะรันตัง สิระสา นะมามิ, ข้าพระพุทธเจ้าขอถวายนมัสการ พระสงฆเจ้าผู้บวรนั้น,
พุทธา นุพุทธัง สะมะสีละทิฎฐิง, ผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้ามีศีลแลทิฎฐิเสมอกัน,
ตันเตชะสา เต ชะยะสิทธิ โหตุ, ด้วยเดชพระสงฆเจ้านั้น ขอความ สำเร็จแห่งชัยชนะจงมีแก่ท่าน,
สัพพันตะรายา จะ วินาสะเมนตุ, แลขออันตรายทั้งมวลจงถึงความ พินาศเทอญ หมายเหตุ
บทนมการสิทธิคาถานี้ เป็นพระนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรสเพื่อใช้สวดแทนบท สัมพุทเธ ด้วยเหตุผลที่ว่าบทสัมพุทเธแสดงเหตุผลแบบมหายาน แต่บทสัมพุทเธก็ยังนิยมสวดกันอยู่ในปัจจุบัน ส่วนมากนิยมสวด นมการสิทธิคาถานี้สลับกับบท สัมพุทเธ คือหากสวดบทสัมพุทเธก็ไม่ต้องสวดนมการสิทธิคาถา หรือหากสวดบทนมการสิทธิคาถาแล้วก็ไม่ต้องสวดสัมพุทเธ แต่บางแห่งนิยมสวดทั้งสองบทในงานเดียวกันก็มี เนื้อหาของบทนมการสิทธิคาถานี้เป็นการขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย ให้ช่วยดลบรรดาลชัยชนะและความสำเร็จให้เกิดขึ้น พร้อมกับปัดเป่าสรรพอันตรายและความไม่เป็นสิริมงคลให้มลายหายไป
บทสวด สัมพุทเธ พร้อมคำแปล สัมพุทเธ อัฏฐะวีสัญจะ ทวาทะสัญจะ สะหัสสะเก
ปัญจะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง (คำแปล)ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสัมพุทธเจ้า 512,028 พระองค์ ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอนอบน้อมทั้งพระธรรมและพระสงฆ์ ของพระสัมพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านั้น โดยเคารพด้วย นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ (คำแปล)ด้วยอานุภาพแห่งการทำความนอบน้อม ขอจงขจัดเสียซึ่งอุปัททวะทั้งหลายทั้งปวง ถึงแม้อันตรายเป็นอันมาก ก็จงพินาศไปโดยสิ้นเชิง สัมพุทเธ ปัญจะปัญญา สัญจะ จะตุวีสะติสะหัสสะเก
ทะสะสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง (คำแปล)ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสัมพุทธเจ้า 1,024,055 พระองค์ ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอนอบน้อมทั้งพระธรรมและพระสงฆ์ ของพระสัมพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านั้น โดยเคารพด้วย นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ (คำแปล)ด้วยอานุภาพแห่งการทำความนอบน้อม ขอจงขจัดเสียซึ่งอุปัททวะทั้งหลายทั้งปวง ถึงแม้อันตรายเป็นอันมาก ก็จงพินาศไปโดยสิ้นเชิง สัมพุทเธ นะวุตตะระสะเต อัฏฐะจัตตาฬีสะสะหัสสะเก
วีสะติสะตะสะหัสสานิ นะมามิ สิระสา อะหัง
เตสัง ธัมมัญจะ สังฆัญจะ อาทะเรนะ นะมามิหัง (คำแปล)ข้าพเจ้าขอนอบน้อมพระสัมพุทธเจ้า 2,048,109 พระองค์ ด้วยเศียรเกล้า ข้าพเจ้าขอนอบน้อมทั้งพระธรรมและพระสงฆ์ ของพระสัมพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านั้น โดยเคารพด้วย นะมะการานุภาเวนะ หันตวา สัพเพ อุปัททะเว
อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ อะเสสะโต ฯ (คำแปล)ด้วยอานุภาพแห่งการทำความนอบน้อม ขอจงขจัดเสียซึ่งอุปัททวะทั้งหลายทั้งปวง ถึงแม้อันตรายเป็นอันมาก ก็จงพินาศไปโดยสิ้นเชิง
บทสวด นโมการรัฏฐกคาถา พร้อมคำแปล
นะโม อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ มเหสิโน,
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาค, อรหันตสัม มา สัมพุทธเจ้า ผู้แสวงหาซึ่งประโยชน์อันใหญ่, นะโม อุตตะมะธัมมัสสะ สะวากขาตัสเสวะ เตนิธะ,
ขอนอบน้อมแด่พระธรรมอันสูงสุดใน พระศาสนานี้ ที่พระองค์ตรัสดีแล้ว, นะโม มะหาสังฆัสสาปิ วิสุทธะสิละทิฏฐิโน,
ขอนอบน้อมแด่พระสงฆ์หมู่ใหญ่ ผู้มีศีลแลทิฏฐิอันหมดจด, นะโม โอมาตยารัทธัสสะ ระตะนัตตะยัสสะ สาธุกัง,
ขอนอบน้อมแด่พระรัตนตรัยที่ปรารภแล้ว ว่าโอมดังนี้ ให้สำเร็จประโยชน์ นะโม โอมะกาตีตัสสะ ตัสสะ วัตถุตตะยัสสะปิ,
ขอนอบน้อมแม้แด่หมวดวัตถุ ๓ อันล่วงพ้นโทษต่ำช้านั้น, นะโม การัปปะภาเวนะ วิคัจฉันตุ อุปัททะวา,
ด้วยความประกาศการกระทำความนอบน้อม, อุปัทวะทั้งหลายจงปราศจากไป, นะโม การานุภะเวนะ สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา,
ขอความสวัสดีจงมีทุกเมื่อ, นะโม การัสสะ เตเชนะ วิธิมหิ โหมิ เตชะวา,
ด้วยเดชแห่งการกระทำความนอบน้อม,เราจงเป็นผู้มีเดช ในมงคลพิธีเถิด
บทสวด มงคลสูตรอรรถแปล ๓๘ ประการ พร้อมคำแปล บทขัดมังคะละสุตตัง เย สันตา สันตะจิตตา ติสะระณะสะระณา เอตถะ โลกันตะเร วา
เทพเจ้าเหล่าใด เป็นภุมเทวดา และมิใช่ภุมเทวดาก็ดี ผู้มีจิตอันรำงับ มีพระไตรรัตน์เป็นที่พึ่งเป็นที่ระลึก ซึ่งอยู่ในโลกนี้หรือในระหว่างโลก
ภุมมาภุมมา จะ เทวา คุระคะณะคะหะณัพยาวะฏา สัพพะกาลัง
ผู้ขวนขวายในการถือเอาซึ่งหมู่แห่งคุณสิ้นกาลทั้งปวง
เอเต อายันตุ เทวา วะระกะนะกะมะเย เมรุราเช วะสันโต สันโต
ขอเทพเจ้าเหล่านั้นจงมา อนึ่ง ขอเทพเจ้า ผู้สถิตอยู่ ณ เขาเมรุราชแล้วด้วยทอง อันประเสริฐจงมาด้วย
สันโต สะเหตุง มุนิวะระวะจะนัง โสตุมัคคัง สะมัคคัง ฯ
ขอเทพเจ้าเหล่าสัตบุรุษ จงมาสู่ที่สมาคม เพื่อฟังคำของพระมุนีผู้ประเสริฐเป็นธรรมอันเลิศ เป็นเหตุแห่งความยินดี สัพเพสุ จักกะวาเฬสุ ยักขา เทวา จะ พรัหมุโน
ยักษ์ทั้งหลาย เทพเจ้าทั้งหลาย และพรหมทั้งหลายในจักรวาลทั้งหมด จงมาด้วย
ยัง อัมเหหิ กะตัง ปุญญัง สัพพะสัมปัตติสาธะกัง
บุญอันใด ให้สำเร็จสมบัติทั้งปวงอันเราทั้งหลายกระทำแล้ว
สัพเพ ตัง อะนุโมทิตวา สะมัคคา สาสะเน ระตา
ขอเหล่าเทพเจ้าทั้งสิ้น จงอนุโมทนา ซึ่งบุญอันนั้นแล้วพร้อมเพรียงกันยินดีในพระศาสนา
ปะมาทะระหิตา โหนตุ อารักขาสุ วิเสสะโต
เป็นผู้ปราศจากความประมาทในอันที่จะรักษาพระศาสนาและโลกเป็นพิเศษ
สาสะนัสสะ จะ โลกัสสะ วุฑฒี ภะวะตุ สัพพะทา
ขอความเจริญจงมีทุกเมื่อ
สาสะนัมปิ จะ โลกัญจะ เทวา รักขันตุ สัพพะทา
ขอเทพเจ้าทั้งหลาย จงอภิบาล แม้ซึ่งพระศาสนาและโลกในกาลทุกเมื่อ
สัทธิง โหนตุ สุขี สัพเพ ปะริวาเรหิ อัตตะโน
ขอสรรพสัตว์ทั้งหลาย พร้อมด้วยบริวารทั้งหลายของตน
อะนีฆา สุมะนา โหนตุ สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ
จงเป็นผู้มีสุขสำราญ จงเป็นผู้ไม่มีทุกข์สบายใจ พร้อมด้วยญาติทั้งหมด ฯ ยัญจะ ทวาทะสะ วัสสานิ จินตะยิงสุ สะเทวะกา
มนุษย์ทั้งหลาย พร้อมด้วยเทวดามาดำริหามงคลอันใดสิ้น ๑๒ ปี
จิรัสสัง จินตะยันตาปิ เนวะ ชานิงสุ มังคะลัง
มนุษย์และเทวดาเหล่านั้น ในหมื่นจักรวาล แม้เมื่อคิดหาสิ้นกาลนาน
จักกะวาฬะสะหัสเสสุ ทะสะสุ เยนะ ตัตตะกัง
ก็มิได้รู้ซึ่งมงคลอันนั้น ด้วยกาลมีประมาณเท่าใด
กาลัง โกลาหะลัง ชาตัง นาวะ พรัหมะนิเวสะนา
โกลาหลเกิดแล้ว ตราบเท่าที่อยู่แห่งพรหม สิ้นกาลมีประมาณเท่านั้น
ยัง โลกะนาโถ เทเสสิ สัพพะปาปะวินาสะนัง
สมเด็จพระโลกนาถ ได้เทศนามงคลอันใด เครื่องยังลามกทั้งสิ้น ให้ฉิบหายไป
ยัง สุตวา สัพพะทุกเขหิ มุจจันตาสังขิยา นะรา
นรชนทั้งหลายนับไม่ถ้วน ได้ฟังมงคลอันใดแล้วพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้
เอวะมาทิคุณูเปตัง มังคะลันตัมภะณามะ เห ฯ
เราทั้งหลาย จงกล่าวมงคลอันนั้น อันประกอบด้วยคุณ มีอย่างนี้เป็นต้นเทอญ ฯ บทมังคะละสุตตัง เอวัมเม สุตัง ฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเม ฯ อะถะโข อัญญะตะรา เทวะตา อะภิกกันตายะ รัตติยา อะภิกกันตะวัณณา เกวะละกัปปัง เชตวะนัง โอภาเสตตะวา เยนะ ภะคะวา เตนุปะสังกะมิ อุปะสังกะมิตตะวา ภะคะวันตัง อะภิวาเทตตะวา เอกะมันตัง อัฎฐาสิ ฯ เอกะมันตัง ฐิตา โข สา เทวะตา ภะคะวันตัง คาถายะ อัชฌะภาสิ ข้าพเจ้า ( คือ พระอานนทเถระ ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้ สมัยหนึ่ง สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จประทับอยู่ที่พระเชตวันวิหารอารามของอนาถบิณฑกเศรษฐี ใกล้เมืองสาวัตถี ครั้งนั้นแล เทพดาองค์ใดองหนึ่ง ครั้นเมื่อราตรีปฐมยามล่วงไปแล้ว มีรัศมีอันงามยิ่งนัก ยังพระเชตวันทั้งสิ้นให้สว่าง พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จประทับอยู่โดยที่ใด ก็เข้าไปเฝ้าโดยที่นั้น ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว จึงถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วได้ยืนอยู่ที่สมควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นเทพยดานั้นยืนอยู่ในที่ีสมควร ส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้ทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยคาถาว่า พะหุ เทวา มะนุสสา จะ มังคะลานิ อะจินตะยุง อากังขะมานา โสตถานัง พรูหิ มังคะละมุตตะตัง ฯ หมู่เทวดาและมนุษย์เป็นอันมาก ผู้หวังความสวัสดี ได้คิดหามงคลทั้งหลาย ขอพระองค์จงทรงเทศนามงคลอันสูงสุด. อะเสวะนา พาลานัง ปัณฑิตานัญจะ เสวะนา
ปูชา จะ ปูชะนียานัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ ความไม่คบคลพาลทั้งหลาย ๑ ความคบบัณฑิตทั้งหลาย ๑
ความบูชาชนที่ควรปูชาทั้งหลาย ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด. ปะฎิรูปะเทสะวาโส จะ ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา
อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ เอตัมมังคะละมุตตมัง ฯ ความอยู่ในประเทศอันสมควร ๑
ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในกาลก่อน ๑
ความตั้งตนไว้ชอบ ๑ ข้อนี้เป็นมงคลสูงสุด. พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ วินะโย จะ สุสิกขิโต
สุภาสิตา จะ ยา วาจา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ ความได้ฟังแล้วมาก ๑ ศิลปศาสตร์ ๑
วินัยอันชนศึกษาดีแล้ว ๑
วาจาอันชนกล่าวดีแล้ว ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด. มาตาปิตุอุปัฎฐานัง ปุตตะทารัสสะ สังคะโห
อะนากุลา จะ กัมมันตา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ ความบำรุงมารดาและบิดา ๑ ความสงเคราะห์ลูกและเมีย ๑
การงานทั้งหลายอันไม่อากูล ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด. ทานัญญะ ธัมมะจะริยา จะ ญาตะกานัญจะ สังคะโห
อะนะวัชชานิ กัมมานิ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ ความให้ ๑ ความประพฤติธรรม ๑
ความสงเคราะห์ญาติทั้งหลาย ๑
กรรมทั้งหลายอันไม่มีโทษ ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด. อาระตี วิระตี ปาปา มัชชะปานา จะ สัญญะโม
อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ ความงดเว้นจากบาป ๑ ความสำรวมจากการดื่มน้ำเมา ๑
ความไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด. คาระโว จะ นิวาโต จะ สันตุฎฐี จะ กะตัญญุตา
กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ ความเคารพ ๑ ความไม่จองหอง ๑ ความยินดีด้วยของอันมีอยู่ ๑
ความเป็นผู้รู้อุปการะอันท่านทำแล้วแก่ตน ๑
ความฟังธรรมโดยกาล ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด. ขันตี จะ โสวะจัสสะตา สะมะณานัญจะ ทัสสนัง
กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ ความอดทน ๑ ความเป็นผู้ว่าง่าย ๑
ความเห็นสมณะทั้งหลาย ๑
ความเจรจาธรรมโดยกาล ๑ ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด. ตะโป จะ พรหมะจะริยัญจะ อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง
นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ ความเพียรเผากิเลส ๑ ความประพฤติอย่างพรหม ๑
ความเห็นอริยสัจทั้งหลาย ๑ ความทำพระนิพพานให้แจ้ง ๑
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด.... ผุฎฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง ยัสสะ นะ กัมปะติ
อะโสกัง วิระชัง เขมัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง ฯ จิตของผู้ใดอันโลกธรรมทั้งหลายถูกต้องแล้ว ย่อมไม่หวั่นไหว
ไม่มีโศก ปราศจากธุลี เกษม ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด. เอตาทิสานิ กัตตะวานะ สัพพัตถะมะปะราชิตา
สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ ตันเตสัง มังคะละมุตตะมันติ เทพยดาและมนุษย์ทั้งหลาย กระทำมงคลทั้งหลาย เช่นนี้แล้ว
เป็นผู้ไม่พ้ายแพ้ในที่ทั้งปวง ย่อมถึงความสวัสดีในที่ทั้งปวง
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด ของเทพยดาและมนุษย์ทั้งหลายเหล่านั้นแล. มังคะละสุตตัง นิฎฐิตัง ฯ จบมงคลสูตร. บทสวด รัตนสูตร พร้อมคำแปล
ขัดระตะนะสุตตัง - ราชะโต วา โจระโต วา มะนุสสะโต วา อะมะนุสสะโต วา อัคคิโต วา อุทะกะโต วา ปิสาจะโต วา ขาณุกะโต วา กัณฏะกะโต วา นักขัตตะโต วา ชะนะปะทะโรคะโต วา อะสัทธัมมะโต วา อะสันทิฏฐิโต วา อะสัปปุริสะโต วา จัณฑะหัตถิอัสสะมิคะโคณะกุกกุระอะหิวิจฉิกะมะนิสัปปะทีปิอัจฉะตะ รัจฉะสุกะระมะหิสะ ยักขะรักขะสาทีหิ นานาภะยะโต วา นานาโรคะโต วา นานาอุปัททะวะโต วา อารักขังคัณหันตุ ฯ - ขอเหล่าเทพดาจงคุ้มครองให้พ้นจากราชภัย โจรภัย มนุสสภัย อมนุสสภัย อัคคีภัย อุทกภัย ภัยจากปีศาจ ภัยจากเคราะห์ร้ายยามร้าย จากโรคภัยไข้เจ็บ จากอสัทธรรม จากมิจฉา ทิฏฐิ คือความเห็นผิด จากคนชั่ว จากภัยต่างๆ อันเกิดแต่สัตว์ร้ายนานาชนิด และจากอมนุษย์ มียักษ์และนางผีเสื้อน้ำ เป็นต้น จากโรคต่างๆ จากอุปัททวะต่างๆ - ปะณิธานะโต ปัฏฐายะ ตะถาคะตัสสะ ทะสะ ปาระมิโย ทะสะ อุปะปาระมิโย ทะสะ ปะระมัตถะปาระมิโย ปัญจะ มะหาปะริจจาเค ติสโส จะริยา ปัจฉิมัพภะเว คัพภาวักกันติง ชาติง อะภินิกขะมะนัง ปะธานะจะริยัง โพธิปัลลังเก มาระวิชะยัง สัพพัญญุตะญาณัปปะฏิเวธัง นะวะ โลกุตตะระธัมเมติ สัพเพปิเม พุทธะคุเณ อาวัชชิตวา เวสาลิยา ตีสุ ปาการันตะเรสุ ติยามะรัตติง ปะริตตัง กะโรนโต อายัสมา อานันทัตเถโร วิยะ การุญญะจิตตัง อุปัฏฐะเปตวา ฯ - เราทั้งหลาย จงตั้งจิตอันประกอบไปด้วยความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย ดังพระอานนทเถระผู้มีอายุ นึกถึงพระพุทธคุณทั้งหลายแม้ทั้งปวงของพระตถาคตเจ้า จำเดิมแต่ปรารถนาพุทธภูมิมา คือบารมี ๑๐ อุปบารมี ๑๐ ปรมัตถบารมี ๑๐ มหาบริจาค ๕ จริยา ๓ เสด็จลงสู่คัพโภทร ในภพมีในที่สุด ประสูติ เสด็จออกอภิเนษกรมณ์ บำเพ็ญทุกขกิริยาชนะมาร ตรัสรู้พระสัพพัญญุตญาณ ณ โพธิบัลลังก์นวโลกุตรธรรม ๙ ดังนี้ แล้วกระทำพระปริตรตลอดราตรีทั้ง ๓ ยาม ในภายในกำแพง ๓ ชั้น ในเมืองเวสาลี - โกฏิสะตะสะหัสเสสุ จักกะวาเฬสุ เทวะตา ยัสสาณัมปะฏิคคัณหันติ ยัญจะ เวสาลิยัมปุเร
โรคามะนุสสะทุพภิกขะสัมภูตันติวิธัมภะยัง ขิปปะมันตะระธาเปสิ ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ - เทวดาทั้งหลายในแสนโกฏิจักรวาล ย่อมรับเอาแม้ซึ่งอาชญาแห่งพระปริตรอันใด อนึ่ง พระปริตรอันใด ยังภัย ๓ ประการอันเกิดจากโรค อมนุษย์ และข้าวแพงในเมืองเวสาลี ให้อันตรธานไปโดยเร็วพลัน เราทั้งหลาย จงสวดพระปริตรอันนั้นเทอญ. บทระตะนะสุตตัง - ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
สัพเพ วะ ภูตา สุมะนา ภะวันตุ อะโถปิ สักกัจจะ สุณันตุ ภาสิตัง
ตัสมา หิ ภูตา นิสาเมถะ สัพเพ เมตตัง กะโรถะ มานุสิยา ปะชายะ
ทิวา จะ รัตโต จะ หะรันติ เย พะลิง ตัสมา หิ เน รักขะถะ อัปปะมัตตา ฯ - หมู่ภูตประจำถิ่นเหล่าใด ประชุมกันแล้วในนครนี้ก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้วในอากาศก็ดี ขอหมู่ภูตทั้งปวงจงเป็นผู้ดีใจและจงฟังภาษิตโดยเคารพ เพราะเหตุนั้นแล ท่านภูตทั้งปวงจงตั้งใจฟัง กระทำไมตรีจิต ในหมู่มนุษยชาติ ประชุมชนมนุษย์เหล่าใด ย่อมสังเวยทั้งกลางวันกลางคืน เพราะเหตุนั้นแล ท่านทั้งหลาย จงเป็นผู้ไม่ประมาท รักษาหมู่มนุษย์เหล่านั้น - ยังกิญจิ วิตตัง อิธะ วา หุรัง วา สัคเคสุ วา ยัง ระตะนัง ปะณีตัง
นะ โน สะมัง อัตถิ ตะถาคะเตนะ อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ - ทรัพย์เครื่องปลื้มใจ อันใดอันหนึ่ง ในโลกนี้หรือโลกอื่น หรือรัตนะอันใด อันประณีตในสวรรค์ รัตนะอันนั้นเสมอด้วยพระตถาคตเจ้าไม่มีเลย แม้อันนี้ เป็นรัตนะ อันประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี - ขะยัง วิราคัง อะมะตัง ปะณีตัง ยะทัชฌะคา สักยะมุนี สะมาหิโต
นะ เตนะ ธัมเมนะ สะมัตถิ กิญจิ อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ - พระศากยมุนีเจ้า มีพระหฤทัยดำรงมั่น ได้บรรลุธรรมอันใดเป็นที่สิ้นกิเลส เป็นที่สิ้นราคะ เป็นอมฤตธรรมอันประณีต สิ่งไรๆ เสมอด้วยพระธรรมนั้นย่อมไม่มี แม้อันนี้เป็นรัตนะอันประณีตในพระธรรม ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี - ยัมพุทธะเสฏโฐ ปะริวัณณะยี สุจิง สะมาธิมานันตะริกัญญะมาหุ
สะมาธินา เตนะ สะโม นะ วิชชะติ อิทัมปิ ธัมเม ระตะนัง ปะณีตัง
เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ - พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ทรงสรรเสริญแล้วซึ่งสมาธิอันใด ว่าเป็นธรรมอันสะอาด บัณฑิตทั้งหลายกล่าวซึ่งสมาธิอันใด ว่าให้ผลโดยลำดับ สมาธิอื่นเสมอด้วยสมาธินั้นย่อมไม่มี แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระธรรม ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี - เย ปุคคะลา อัฏฐะ สะตัง ปะสัฏฐา จัตตาริ เอตานิ ยุคานิ โหนติ
เต ทักขิเณยยา สุคะตัสสะ สาวะกา เอเตสุ ทินนานิ มะหัปผะลานิ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ - บุคคลเหล่าใด ๘ จำพวก ๔ คู่ อันสัตบุรุษทั้งหลายสรรเสริญแล้ว บุคคลเหล่านั้นเป็นสาวกของพระสุคต ควรแก่ทักษิณาทาน ทานทั้งหลาย อันบุคคลถวายในท่านเหล่านั้น ย่อมมีผลมาก แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี - เย สุปปะยุตตา มะนะสา ทัฬเหนะ นิกกามิโน โคตะมะสาสะนัมหิ
เต ปัตติปัตตา อะมะตัง วิคัยหะ ลัทธา มุธา นิพพุติง ภุญชะมานา
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ - พระอริยบุคคลทั้งหลายเหล่าใด ในศาสนาพระโคดมเจ้า ประกอบดีแล้ว มีใจมั่นคง มีความใคร่ ออกไปแล้ว พระอริยบุคคลทั้งหลายเหล่านั้น ถึงพระอรหัตผลที่ควรถึงหยั่งเข้าสู่พระนิพพาน ได้ซึ่งความดับกิเลส โดยเปล่าๆ แล้วเสวยผลอยู่ แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี - ยะถินทะขีโล ปะฐะวิง สิโต สิยา จะตุพภิ วาเตภิ อะสัมปะกัมปิโย
ตะถูปะมัง สัปปุริสัง วะทามิ โย อะริยะสัจจานิ อะเวจจะ ปัสสะติ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ - เสาเขื่อนที่ลงดินแล้ว ไม่หวั่นไหวด้วยพายุ ๘ ทิศ ฉันใด ผู้ใด เล็งเห็นอริยสัจทั้งหลาย เราเรียกผู้นั้นว่า เป็นสัตบุรุษผู้ไม่หวั่นไหวด้วยโลกธรรม อุปมาฉันนั้น แม้อันนี้เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี - เย อะริยะสัจจานิ วิภาวะยันติ คัมภีระปัญเญนะ สุเทสิตานิ
กิญจาปิ เต โหนติ ภุสัปปะมัตตา นะ เต ภะวัง อัฏฐะมะมาทิยันติ
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ - พระโสดาบันจำพวกใด กระทำให้แจ้งอยู่ ซึ่งอริยสัจทั้งหลายอันพระศาสดาผู้มีปัญญาอันลึกซึ้งแสดงดีแล้ว พระโสดาบันจำพวกนั้น ยังเป็นผู้ประมาทก็ดี ถึงกระนั้น ท่านย่อมไม่ถือเอาภพที่ ๘ (คือเกิดอีกอย่างมาก ๗ ชาติ) แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี - สะหาวัสสะ ทัสสะนะสัมปะทายะ ตะยัสสุ ธัมมา ชะหิตา ภะวันติ
สักกายะทิฏฐิ วิจิกิจฉิตัญจะ สีลัพพะตัง วาปิ ยะทัตถิ กิญจิ
จะตูหะปาเยหิ จะ วิปปะมุตโต ฉะ จาภิฐานานิ อะภัพโพ กาตุง
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ - สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส อันใดอันหนึ่งยังมีอยู่ ธรรมเหล่านั้น อันพระโสดาบัน ละได้แล้ว พร้อมด้วยทัสสนะสมบัติ (คือโสดาปัตติมรรค) ทีเดียว อนึ่งพระโสดาบันเป็นผู้พ้นแล้ว จากอบายทั้ง ๔ ไม่อาจเพื่อจะกระทำอภิฐานทั้ง ๖ (คืออนันตริยกรรม ๕ และการเข้ารีต) แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี - กิญจาปิ โส กัมมัง กะโรติ ปาปะกัง กาเยนะ วาจายุทะ เจตะสา วา
อะภัพโพ โส ตัสสะ ปะฏิจฉะทายะ อะภัพพะตา ทิฏฐะปะทัสสะ วุตตา
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ - พระโสดาบันนั้น ยังกระทำบาปกรรม ด้วยกายหรือวาจาหรือใจได้บ้าง (เพราะความพลั้งพลาด) ถึงกระนั้นท่านไม่ควรเพื่อจะปกปิดบาปกรรมอันนั้น ความเป็นผู้มีทางพระนิพพาน อันเห็นแล้ว ไม่ควรปกปิดบาปกรรมนั้น อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี - วะนัปปะคุมเพ ยะถา ผุสสิตัคเค คิมหานะมาเส ปะฐะมัสมิง คิมเห
ตะถูปะมัง ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ นิพพานะคามิง ปะระมัง หิตายะ
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ - พุ่มไม้ในป่า มียอดอันบานแล้ว ในเดือนต้นคิมหะแห่งคิมหฤดูฉันใด พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงแสดงพระธรรมให้ถึงพระนิพพาน เพื่อประโยชน์แก่สัตว์ทั้งหลาย มีอุปมาฉันนั้น แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระพุทธเจ้า ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี - วะโร วะรัญญู วะระโท วะราหะโร อะนุตตะโร ธัมมะวะรัง อะเทสะยิ
อิทัมปิ พุทเธ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ - พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐทรงทราบธรรมอันประเสริฐ ทรงประทานธรรมอันประเสริฐ ทรงนำมาซึ่งธรรมอันประเสริฐ ไม่มีผู้ยิ่งไปกว่า
ได้ทรงแสดงธรรมอันประเสริฐ พุทธรัตนะแม้นี้เป็นรัตนะอันประณีต ด้วยสัจจวาจานี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่สัตว์เหล่านี้ - ขีณัง ปุราณัง นะวัง นัตถิ สัมภะวัง วิรัตตะจิตตายะติเก ภะวัสมิง
เต ขีณะพีชา อะวิรุฬหิฉันทา นิพพันติ ธีรา ยะถายัมปะทีโป
อิทัมปิ สังเฆ ระตะนัง ปะณีตัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหตุ ฯ - กรรมเก่าของพระอริยบุคคลเหล่าใดสิ้นแล้ว กรรมสมภพใหม่ย่อมไม่มี พระอริยบุคคลเหล่าใด มีจิตอันหน่ายแล้วในภพต่อไป พระอริยบุคคลเหล่านั้น มีพืชสิ้นไปแล้ว มีความพอใจงอกไม่ได้แล้ว เป็นผู้มีปัญญา ย่อมปรินิพพานเหมือนประทีปอันดับไป ฉะนั้น แม้อันนี้ เป็นรัตนะอันประณีตในพระสงฆ์ ด้วยคำสัตย์นี้ ขอความสวัสดีจงมี - ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง พุทธัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ - ภูตประจำถิ่นเหล่าใด ประชุมกันแล้วในพระนครก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้วในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระพุทธเจ้าผู้มาแล้วอย่างนั้น ผู้อันเทพดาและมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมี - ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง ธัมมัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ - ภูตประจำถิ่นเหล่าใด ประชุมกันแล้วในพระนครนี้ก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้วในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระธรรมอันมาแล้วอย่างนั้น อันเทพดาและมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมี - ยานีธะ ภูตานิ สะมาคะตานิ ภุมมานิ วา ยานิวะ อันตะลิกเข
ตะถาคะตัง เทวะมะนุสสะปูชิตัง สังฆัง นะมัสสามะ สุวัตถิ โหตุ ฯ - ภูตประจำถิ่นเหล่าใด ประชุมกันแล้วในพระนครนี้ก็ดี เหล่าใดประชุมกันแล้วในอากาศก็ดี เราทั้งหลาย จงนมัสการพระสงฆ์ผู้มาแล้วอย่างนั้น ผู้อันเทพดาและมนุษย์บูชาแล้ว ขอความสวัสดีจงมี. บทสวด กรณียเมตตสูตร พร้อมคำแปล
บทขัดกะระณียะเมตตะสุตตัง ยัสสานุภาวะโต ยักขา ยัมหิ เจวานุยุญชันโต
สุขัง สุปะติ สุตโต จะ เอวะมาทิคุณูเปตัง
เนวะ ทัสเสนติ ภิงสะนัง รัตตันทิวะมะตันทิโต
ปาปัง กิญจิ นะ ปัสสะติ ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ แปลบทขัดกะระณียะเมตตะสุตตัง
เหล่าเทพยาทั้งหลาย ย่อมไม่แสดงอาการอันน่าสะพรึงกลัว เพราะอานุภาพแห่งพระปริตรนี้ อนึ่งบุคคลไม่เกียจคร้าน สาธยายอยู่เนือง ๆ ซึ่งพระปริตรนี้ ทั้งในกลางวันและกลางคืนย่อมหลับเป็นสุข ขณะหลับย่อมไม่ฝันร้าย ท่านผู้เจริญทั้งหลาย จงสวดพระปริตร อันประกอบไปด้วยคุณดังกล่าวมา ดังนี้เทอญ บทกะระณียะเมตตะสุตตัง ทำให้หลับเป็นสุข ตื่นเป็นสุข ไม่ฝันร้าย เป็นที่รักของมนุษย์และอมนุษย์ทั้งหลาย เทพพิทักษ์รักษา ไม่มีภยันตราย จิตเป็นสมาธิง่าย ใบหน้าผ่องใส มีสิริมงคล ไม่หลงสติในเวลาเสียชีวิต และเป็นพรหมเมื่อบรรลุเมตตาฌาน ๑. กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ . . . . . . . ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ
สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ . . . . . . . . . . . . สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี
กิจที่คนฉลาดในสิ่งที่มีประโยชน์ และมุ่งหมายจะบรรลุทางสงบ จะพึงทำ ก็คือ เป็นคนกล้า, เป็นคนซื่อ, เป็นคนตรง, ว่าง่าย, อ่อนโยน, ไม่เย่อหยิ่ง
๒. สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ . . . . . . . .อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ
สันตินท์ริโย จะ นิปะโก จะ . . . . . . . . อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ
เป็นผู้สันโดษ, เลี้ยงง่าย, มีภาระกิจน้อย, คล่องตัว, ระมัดระวังการแสดงออก, รู้ตัว, ไม่คะนอง, ไม่คลุกคลีในตระกูลทั้งหลาย
๓. นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ . . . . . เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง
สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ . . . . . . . . . . . . สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา
ไม่ประพฤติสิ่งที่วิญญูชนตำหนิติเตียนได้, พึงแผ่เมตตาจิตว่า ขอสัตว์ทั้งปวง จงมีความสุขกายสบายใจ มีความเกษมสำราญเถิด
๔. เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ . . . . . . . . . . . . .ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา
ทีฆา วา เย มะหันตา วา . . . . . . . . . . .มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา
ขอสัตว์ทั้งหลายบรรดามี ที่เป็นสัตว์ตัวอ่อน หรือตัวแข็งก็ตาม เป็นสัตว์-มีลำตัวยาวหรือ ลำตัวใหญ่ก็ตาม มีลำตัวปานกลาง หรือตัวสั้นก็ตาม ตัวเล็กหรือตัวโตก็ตาม
๕. ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา . . . . . . . . . เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร
ภูตา วา สัมภะเวสี วา . . . . . . . . . . . . .สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา
ที่มองเห็นหรือมองไม่เห็นก็ตาม ที่อยู่ไกลหรืออยู่ใกล้ก็ตาม ที่เกิดแล้ว หรือ กำลังหาที่เกิดอยู่ก็ตาม ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงนั้นจงสุขกายสบายใจเถิด
๖. นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ . . . . . . . . .นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ
พ์ยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา . . . . . . .นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ
บุคคลไม่พึงหลอกลวงผู้อื่น ไม่ควรดูหมิ่นเหยียดหยามใคร ๆ ไม่ควรมุ่งร้าย ต่อกันและกัน เพราะมีความขุ่นเคืองโกรธแค้นกัน
๗. มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง . . . . . . . . . . อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข
เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ . . . . . . . . . . . . . . มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง
คนเราพึงแผ่ความรักความเมตตา ไปยังสัตว์ทั้งหลายหาประมาณมิได้ ดุจดังมารดาถนอม และปกป้องบุตรสุดที่รักคนเดียวด้วยชีวิต ฉันนั้น
๘. เมตตัญจะ สัพพะโลกัส์มิง . . . . . . . . .มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง
อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ . . . . . . . . . . อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง
พึงแผ่เมตตาจิต ไม่มีขอบเขต ไม่คิดผูกเวร ไม่เป็นศัตรู อันหาประมาณไม่ได้ ไปยังสัตว์โลกทั้งปวงทั่วทุกสารทิศ
๙. ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา . . . . . . . . . . . สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ
เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ . . . . . . . . . . พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ
ผู้เจริญเมตตาจิตนั้น จะยืน จะเดิน จะนั่ง จะนอน ตลอดเวลาที่ตนยังตื่นอยู่ พึงตั้งสติ อันประกอบด้วยเมตตานี้ให้มั่นไว้ บัณฑิตทั้งหลายกล่าวว่า การอยู่ด้วยเมตตานี้ เป็นพรหมวิหาร (การอยู่อย่างประเสริฐ)
๑๐. ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา . . . . .ทัสสะเนนะ สัมปันโน
กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง . . . . . . . . . . . . . .นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ
ท่านผู้เจริญเมตตาจิต ที่ละความเห็นผิดแล้ว มีศีล มีความเห็นชอบ ขจัดความใคร่ ในกามได้ ก็จะไม่กลับมาเกิดอีกเป็นแน่แท้ บทสวด ขันธปริตตสูตร พร้อมคำแปล
บทขัดขันธะปะริตตะคาถา สัพพาสีวิสะชาตีนัง
ทิพพะมันตาคะทัง วิยะ
ยันนาเสติ วิสัง โฆรัง
เสสัญจาปิ ปะริสสะยัง
อาณักเขตตัมปิ สัพพัตถะ
สัพพะทา สัพพะปาณินัง
สัพพะโสปิ นิวาเรต
ปะริตตันตัมะภะณามะ เห ฯ คำแปล บทขัดขันธะปะริตตะคาถา
พระปริตรอันใด ย่อมยังพิษอันร้ายแห่งงูร้ายทั้งหลาย ให้ฉิบหายไป ดุจยาวิเศษอันประกอบด้วยมนต์ทิพย์ อนึ่งพระปริตรอันใด ย่อมห้ามกันอันตรายอันเศษของสัตว์ทั้งสิ้น โดยประการทั้งปวง ในอาณาเขต ในที่ทั้งหมด ในกาลทุกเมื่อ เราทั้งหลาย จงสวดพระปริตรอันนั้นเทอญ. ********** ขันธะปะริตตะคาถา วิรูปักเขหิ เม เมตตัง
เมตตัง เอราปะเถหิ เม
ฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตัง
เมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ
อะปาทะเกหิ เม เมตตัง
เมตตัง ทิปาทะเกหิ เม
จะตุปปะเทหิ เม เมตตัง
เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม
มา มัง อะปาทะโก หิงสิ
มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก
มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ
มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท
สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา
สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา
สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันตุ
มา กิญจิ ปาปะมาคะมา อัปปะมาโณ พุทโธ อัปปะมาโณ ธัมโม อัปปะมาโณ สังโฆ
ปะมาณะวันตานิ สิริงสะปานิ อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี
สะระพู มูสิกา กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ปะฏิกกะมันตุ
ภูตานิ โสหัง นะโม ภะคะวะโต นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานัง ฯ คำแปล ขันธะปะริตตะคาถา
ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพระยานาคทั้งหลาย สกุลวิรูปักข์ด้วย, ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพระยานาคทั้งหลาย สกุลเอราบถด้วย, ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพระยานาคทั้งหลาย สกุลฉัพยาบุตรด้วย, ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพระยานาคทั้งหลาย สกุลกัณหาโคตมกะด้วย, ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลายที่มี ๔ เท้าด้วย, ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ที่มีเท้ามากด้วย, สัตว์ ไม่มีเท้าอย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๒ เท้าอย่าเบียดเบียนเรา สัตว์ ๔ เท้า อย่าเบียดเบียนเรา สัตว์มากเท้าอย่าเบียดเบียนเรา ขอสรรพสัตว์มีชีวิตทั้งหลายที่เกิดมาทั้งหมดจนสิ้นเชิงด้วย จงเห็นซึ่งความเจริญทั้งหลายทั้งปวงเถิด โทษลามกไรๆ อย่าได้ มาถึงแล้วแก่สัตว์เหล่านั้น พระพุทธเจ้า ทรงพระคุณไม่มีประมาณ พระธรรม ทรงพระคุณไม่มีประมาณ พระสงฆ์ ทรงพระคุณไม่มีประมาณ สัตว์เสือกคลานทั้งหลาย คือ งู แมลงป่อง ตะเข็บ ตะขาบ แมลงมุม ตุ๊กแก หนู เหล่านี้ล้วนมีประมาณ (ไม่มากเหมือนคุณพระรัตนตรัย) ความ รักษา อันเรากระทำแล้ว ความป้องกัน อันเรากระทำแล้วหมู่สัตว์ทั้งหลาย จงหลีกไปเสีย เรานั้นกระทำการนอบน้อมแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าอยู่ ทำการนอบน้อมแด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย ๗ พระองค์อยู่ บทสวด โมรปริตสูตร พร้อมคำแปล
บทขัดโมระปะริตตัง ปูเรนตัมโพธิสัมภาเร นิพพัตตัง โมระโยนิยัง
เยนะ สังวิหิตารักขัง มะหาสัตตัง วะเนจะรา
จิรัสสัง วายะมันตาปิ เนวะ สักขิงสุ คัณหิตุง
พรัหมะมันตันติ อักขาตัง ปะริตตันตัมภะณามะ เห ฯ แปลบทขัดโมระปะริตตัง พวกพรานไพร แม้พยายามอยู่ช้านานไม่อาจนั่นเทียว เพื่อจะจับพระมหาสัตว์ ผู้บังเกิดแล้วในกำเนิดแห่งนกยูง
ผู้ยังโพธิสมภารให้บริบูรณ์อยู่ มีความรักษาอันตนจัดแจงดีแล้ว ด้วยพระปริตรอันใด เราทั้งหลาย
จงสวดพระปริตรอันนั้น ที่พระพุทธเจ้าทรงเรียกว่า พรหมมนตร์ เทอญ. บทโมระปะริตตัง อุเทตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ ทิวะสัง เย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ พระอาทิตย์เป็นดวงตาของโลก เป็นเอกราช มีสีเพียงดังสีแห่งทอง ยังพื้นปฐพีให้สว่าง อุทัยขึ้นมา
เพราะเหตุนั้น ข้าขอนอบน้อมพระอาทิตย์นั้น ซึ่งมีสีเพียงดังสีแห่งทอง ยังพื้นปฐพีให้สว่าง ข้าทั้งหลาย
อันท่านปกครองแล้วในวันนี้ พึงอยู่เป็นสุขตลอดวัน พราหมณ์ทั้งหลายเหล่าใด ผู้ถึงซึ่งเวทในธรรมทั้งปวง
พราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้น จงรับความนอบน้อมของข้า อนึ่ง พราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้น จงรักษาซึ่งข้า นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา
นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา
อิมัง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร จะระติ เอสะนา ฯ ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่พระโพธิญาณ ความนอบน้อมของข้า
จงมีแด่ท่านผู้พ้นแล้วทั้งหลาย ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่วิมุตติธรรม นกยูงนั้นได้กระทำปริตรอันนี้แล้ว จึงเที่ยวไป เพื่ออันแสวงหาอาหาร อะเปตะยัญจักขุมา เอกะราชา หะริสสะวัณโณ ปะฐะวิปปะภาโส
ตัง ตัง นะมัสสามิ หะริสสะวัณณัง ปะฐะวิปปะภาสัง
ตะยัชชะ คุตตา วิหะเรมุ รัตติง เย พราหมะณา เวทะคุ สัพพะธัมเม
เต เม นะโม เต จะ มัง ปาละยันตุ พระอาทิตย์นี้เป็นดวงตาของโลก เป็นเอกราช มีสีเพียงดังสีแห่งทองยังพื้นปฐพีให้สว่าง ย่อมอัสดงคตไป
เพราะเหตุนั้น ข้าขอนอบน้อมพระอาทิตย์นั้น ซึ่งมีสีเพียงดังสีแห่งทอง ยังพื้นปฐพีให้สว่าง ข้าทั้งหลาย
อันท่านปกครองแล้วในวันนี้ พึงอยู่เป็นสุขตลอดคืน พราหมณ์ทั้งหลายเหล่าใด ผู้ถึงซึ่งเวทในธรรมทั้งปวง
พราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้น จงรับความนอบน้อมของข้า อนึ่ง พราหมณ์ทั้งหลายเหล่านั้น จงรักษาซึ่งข้า นะมัตถุ พุทธานัง นะมัตถุ โพธิยา
นะโม วิมุตตานัง นะโม วิมุตติยา
อิมัง โส ปะริตตัง กัตวา โมโร วาสะมะกัปปะยีติ ฯ ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่พระโพธิญาณ ความนอบน้อมของข้า
จงมีแด่ท่านผู้พ้นแล้วทั้งหลาย ความนอบน้อมของข้า จงมีแด่วิมุตติธรรม นกยูงนั้นได้กระทำปริตรอันนี้แล้ว จึงสำเร็จความอยู่แล.
บทสวด ธชัคคสูตร พร้อมคำแปล
บทขัดธชคฺคปริตฺตํ ยสฺสานุสฺสรเณนาปิ อนฺตลิกฺเขปิ ปาณิโน
สัตว์ทั้งหลาย ย่อมประสบที่พึ่ง แม้ในอากาศดุจในแผ่นดินในกาลทุกเมื่อ
ปติฏฺฐมธิคจฺฉนฺติ ภูมิยํ วิย สพฺพทา
และความนับสัตว์ทั้งหลายผู้พ้นแล้วจากข่าย
สพฺพูปทฺทวชาลมฺหา ยกฺขโจราทิสมฺภวา
คืออุปัทวะทั้งปวงอันเกิดแก่สัตว์มียักษ์และโจรเป็นต้นมิได้มี
คณนา น จ มุตฺตานํ
แม้ด้วยการตามระลึกพระปริตรอันใด
ปริตฺตนฺตมฺภณาม เหฯ
เราทั้งหลายจงสวดพระปริตรนั้นเทอญ ฯ บทธะชัคคะปะริตตัง เอวมฺเม สุตํ
อันข้าพเจ้า (คือพระอานนท์เถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้ฯ เอกํ สมยํ ภควา
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า สาวตฺถิยํ วิหรติ เชตวเน อนาถปิณฺฑิกสฺส อาราเม
เสด็จประทับอยู่ ที่เชตวันวิหาร อารามของท่านอนาถบิณฑิกมหาเศรษฐี ใกล้เมืองสาวัตถี ฯ ตตฺร โข ภควา ภิกฺขู อามนฺเตสิ ภิกฺขโวติ ฯ
ในกาลนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัสเรียกพระภิกษุทั้งหลายมาว่า ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย ดังนี้แลฯ ภทนฺเตติ เต ภิกฺขู ภควโต ปจฺจสฺโสสุ ํ ฯ
พระภิกษุเหล่านั้น จึงทูลรับพระพุทธพจน์ ของพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า พระพุทธเจ้าข้า ดังนี้ฯ ภควา เอตทโวจ ภูตปุพฺพํ ภิกฺขเว
พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรื่องดึกดำบรรพ์เคยมีมาแล้ว เทวาสุรสงฺคาโม สมุปพฺยูโฬฺห อโหสิ ฯ
สงครามระหว่างเทพดากับอสูรได้เกิดประชิดกันแล้ว อถ โข ภิกฺขเว สกฺโก
ครั้งนั้นแล ภิกษุทั้งหลาย ท้าวสักกเทวราช
เทวานมินฺโท เทเว ตาวตึเส อามนฺเตสิ
ผู้เป็นเจ้าแห่งพวกเทพดา เรียกหมู่เทพดาในชั้นดาวดึงส์มาสั่งว่า สเจ มาริสา เทวานํ สงฺคามคตานํ อุปฺปชฺเชยฺย ภยํ วา ฉมฺภิตตฺตํ วา โลมหํโส วา
ดูก่อนท่านผู้นิรทุกข์ ถ้าความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี พึงบังเกิดขึ้นแก่หมู่เทพดาผู้ไปสู่สงคราม ในสมัยใด มเมว ตสฺมึ สมเย ธชคฺคํ อุลฺโลเกยฺยาถ ฯ
ในสมัยนั้น ท่านทั้งหลายพึงแลดูชายธงของเรานั่นเทียว มมญฺหิ โว ธชคฺคํ อุลฺโลกยตํ
เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลายแลดูชายธงของเราอยู่ ยมฺภวิสฺสติ ภยํ วา ฉมฺภิตตฺตํ วา โลมหํโส วา
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ความขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี โส ปหียิสฺสติ ฯ โน เจ เม ธชคฺคํ อุลฺโลเกยฺยาถ
อันนั้นจักหายไป ถ้าท่านทั้งหลาย ไม่แลดูชายธงของเรา อถ ปชาปติสฺส เทวราชสฺส ธชคฺคํ อุลฺโลเกยฺยาถ ฯ
ทีนั้น ท่านทั้งหลาย พึงแลดูชายธงของเทวราช ชื่อ ปชาบดี ปชาปติสฺส หิ โว เทวราชสฺส ธชคฺคํ อุลฺโลกยตํ
เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลายแลดูชายธงของเทวราช ชื่อปชาบดีอยู่ ยมฺภวิสฺสติ ภยํ วา ฉมฺภิตตฺตํ วา โลมหํโส วา
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ความขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี โส ปหียิสฺสติ ฯ โน เจ ปชาปติสฺส เทวราชสฺส ธชคฺคํ อุลฺโลเกยฺยาถ
อันนั้นจักหายไปฯ ถ้าท่านทั้งหลาย ไม่แลดูชายธงของเทวราช ชื่อ ปชาบดี อถ วรุณสฺส เทวราชสฺส ธชคฺคํ อุลฺโลเกยฺยาถ ฯ
ทีนั้นพวกท่านพึงแลดู ชายธงของเทวราช ชื่อวรุณ วรุณสฺส หิ โว เทวราชสฺส ธชคฺคํ อุลฺโลกยตํ
เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลายแลดูชายธงของเทวราช ชื่อวรุณอยู่ ยมฺภวิสฺสติ ภยํ วา ฉมฺภิตตฺตํ วา โลมหํโส วา
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี โส ปหียิสฺสติ ฯ
อันนั้นจักหายไป โน เจ วรุณสฺส เทวราชสฺส ธชคฺคํ อุลฺโลเกยฺยาถ
ถ้าท่านทั้งหลายไม่แลดูชายธงของเทวราช ชื่อวรุณ อถอีสานสฺส เทวราชสฺส ธชคฺคํ อุลฺโลเกยฺยาถ ฯ
ทีนั้นพวกท่านพึงแลดู ชายธงของเทวราช ชื่ออีสาน อีสานสฺส หิ โว เทวราชสฺส ธชคฺคํ อุลฺโลกยตํ
เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลายแลดูชายธงของเทวราชชื่ออีสานอยู่ ยมฺภวิสฺสติ ภยํ วา ฉมฺภิตตฺตํ วา โลมหํโส วา
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดีอันใดจักมี โส ปหียิสฺสตีติ ฯ
อันนั้นจักหายไป ดังนี้ ตํ โข ปน ภิกฺขเว
ดูก่อนภิกษุทั้งหลายก็ข้อนั้นแล สกฺกสฺส วา เทวานมินฺทสฺส ธชคฺคํอุลฺโลกยตํ
คือการแลดูชายธงของสักกเทวราชผู้เป็นเจ้าแห่งเทพดาก็ตาม ปชาปติสฺส วา เทวราชสฺส ธชคฺคํ อุลฺโลกยตํ
การแลดูชายธงของเทวราช ชื่อปชาบดีก็ตาม วรุณสฺส วา เทวราชสฺส ธชคฺคํ อุลฺโลกยตํ
การแลดูชายธงของเทวราช ชื่อวรุณก็ตาม อีสานสฺส วาเทวราชสฺส ธชคฺคํ อุลฺโลกยตํ
การแลดูชายธงของเทวราชชื่ออีสานก็ตาม ยมฺภวิสฺสติ ภยํ วา ฉมฺภิตตฺตํ วา โลมหํโส วา
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี โส ปหีเยถาปิ โนปิ ปหีเยถ
อันนั้นพึงหายไปได้บ้าง ไม่ได้บ้าง ตํ กิสฺส เหตุ
ข้อนั้นเป็นเพราะเหตุแห่งอะไร
สกฺโก หิ ภิกฺขเว เทวานมินฺโท
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุว่าท้าวสักกเทวราชผู้เป็นเจ้าแห่งเทพดา อวีตราโค อวีตโทโส อวีตโมโห
เธอมีราคะยังไม่สิ้นไป มีโทสะยังไม่สิ้นไป มีโมหะยังไม่สิ้นไป ภีรุ ฉมฺภี อุตฺราสี ปลายีติ ฯ
เธอยังเป็นผู้กลัว ยังเป็นผู้หวาด ยังเป็นผู้สะดุ้ง ยังเป็นผู้หนี ดังนี้ อหญฺจ โข ภิกฺขเว เอวํ วทามิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนเราแลกล่าวอย่างนี้ว่า สเจ ตุมฺหากํ ภิกฺขเว อรญฺญคตานํ วา รุกฺขมูลคตานํ วา สุญฺญาคารคตานํ วา
ถ้าว่าเมื่อท่านทั้งหลาย ไปอยู่ในป่าก็ตาม ไปอยู่ที่โคนต้นไม้ก็ตาม ไปอยู่ในเรือนเปล่าก็ตาม อุปฺปชฺเชยฺย ภยํ วา ฉมฺภิตตฺตํ วา โลมหํโส วา
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี พึงเกิดขึ้นในสมัยใด มเมว ตสฺมึ สมเย อนุสฺสเรยฺยาถ
ในสมัยนั้น ท่านทั้งหลายพึงระลึกถึงเรานั่นเทียวว่า อิติปิ โส ภควา
แม้เพราะเหตุนี้ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น อรหํ
เป็นผู้ไกลกิเลส เป็นผู้ควรไหว้ ควรบูชา
สมฺมาสมฺพุทฺโธ
เป็นผู้รู้ชอบเอง วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน
เป็นผู้บริบูรณ์แล้วด้วยวิชชาและจรณะ สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ
เป็นพระสุคตผู้เสด็จไปดีแล้ว เป็นผู้ทรงรู้โลก เป็นผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควาติ ฯ
เป็นศาสดาผู้สอนของเทพดา และมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกธรรมดังนี้ มมํ หิ โว ภิกฺขเว อนุสฺสรตํ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลาย ตามระลึกถึงเราอยู่ ยมฺภวิสฺสติ ภยํ วา ฉมฺภิตตฺตํ วา โลมหํโส วา
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี โส ปหียิสฺสติ ฯ
อันนั้นจักหายไป
โน เจ มํ อนุสฺสเรยฺยาถ
ถ้าท่านทั้งหลายไม่ระลึกถึงเรา อถ ธมฺมํ อนุสฺสเรยฺยาถ
ทีนั้นพึงตามระลึกถึงพระธรรมว่า
สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม
พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคตรัสดีแล้ว สนฺทิฏฺฐิโก
เป็นของอันบุคคลพึงเห็นเอง อกาลิโก
เป็นของไม่มีกาลเวลา เอหิปสฺสิโก
เป็นของจะร้องเรียกผู้อื่นให้มาดูได้ โอปนยิโก
เป็นของอันบุคคลพึงน้อมเข้ามาใส่ใจ ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺ?ูหีติ ฯ
เป็นของอันวิญญูชนทั้งหลาย พึงรู้เฉพาะตัว ดังนี้ ธมฺมํ หิ โว ภิกฺขเว อนุสฺสรตํ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลาย ตามระลึกถึงพระธรรมอยู่ ยมฺภวิสฺสติ ภยํ วา ฉมฺภิตตฺตํ วา โลมหํโส วา
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี โส ปหียิสฺสติ ฯ โน เจ ธมฺมํ อนุสฺสเรยฺยาถ
ก็จักหายไป ถ้าท่านทั้งหลายไม่ตามระลึกถึงพระธรรม อถ สงฺฆํ อนุสฺสเรยฺยาถ
ทีนั้นพวกเธอพึงตามระลึกถึงพระสงฆ์ว่า สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว อุชุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติตรงแล้ว ญายปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติถูกแล้ว สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติชอบแล้ว ยทิทํ
คือ
จตฺตาริ ปุริสยุคานิ
คู่แห่งบุรุษทั้งหลาย ๔ อฏฺฐ ปุริสปุคฺคลา
บุรุษบุคคลทั้งหลาย ๘
เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ
นี่พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า อาหุเนยฺโย
ท่านเป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา ปาหุเนยฺโย
ท่านเป็นผู้ควรของต้อนรับ ทกฺขิเณยฺโย
ท่านเป็นผู้ควรทักษิณาทาน
อญฺชลิกรณีโย
ท่านเป็นผู้ควรแก่การทำอัญชลีกรรม อนุตฺตรํ ปุญฺญกฺเขตฺตํ โลกสฺสาติ ฯ
ท่านเป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาอื่นยิ่งไปกว่าดังนี้ สงฺฆํ หิ โว ภิกฺขเวอนุสฺสรตํ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะว่าเมื่อท่านทั้งหลาย ระลึกถึงพระสงฆ์อยู่ ยมฺภวิสฺสติ ภยํ วา ฉมฺภิตตฺตํ วา โลมหํโส วา
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี อันใดจักมี โส ปหียิสฺสติ
อันนั้นจักหายไป
ตํ กิสฺส เหตุ
ข้อนั้นเป็นเพราะเหตุแห่งอะไร ตถาคโต หิ ภิกฺขเว
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุว่าพระตถาคต อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ
เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า วีตราโค วีตโทโส วีตโมโห
มีราคะสิ้นไปแล้ว มีโทสะสิ้นไปแล้ว มีโมหะสิ้นไปแล้ว อภีรุ อจฺฉมฺภี
เป็นผู้ไม่กลัว เป็นผู้ไม่หวาด
อนุตฺตราสี อปลายีติ ฯ
เป็นผู้ไม่สะดุ้ง เป็นผู้ไม่หนี ดังนี้แล อิทมโวจ ภควา
พระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้
อิทํ วตฺวาน สุคโต
พระผู้เป็นพระสุคต ครั้นตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว อถาปรํ เอตทโวจ สตฺถา
ลำดับนั้น พระองค์ผู้เป็นพระศาสดา จึงตรัสพระพุทธพจน์นี้ อีกว่า อรญฺเญ รุกฺขมูเล วา สุญฺญาคาเรว ภิกฺขโว
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อท่านทั้งหลายอยู่ในป่า หรือในรุกขมูลหรือในเรือนเปล่า อนุสฺสเรถ สมฺพุทฺธํ ภยํ ตุมฺหาก โน สิยา
พึงระลึกถึงพระสัมพุทธ ภัยจะไม่พึงมี แก่ท่านทั้งหลาย โน เจ พุทฺธํ สเรยฺยาถ
ถ้าท่านทั้งหลาย ไม่ระลึกถึงพระพุทธ
โลกเชฏฺฐํ นราสภํ
ซึ่งเป็นใหญ่กว่าโลก ประเสริฐกว่านรชน อถ ธมฺมํ สเรยฺยาถ
ที่นั้นพึงระลึกถึงพระธรรม
นิยฺยานิกํ สุเทสิตํ
อันเป็นเครืองนำออกซึ่งเราแสดงไว้ดีแล้ว โน เจ ธมฺมํ สเรยฺยาถ
ถ้าท่านทั้งหลายไม่ระลึกถึงพระธรรม
นิยฺยานิกํ สุเทสิตํ
อันเป็นเครืองนำออกซึ่งเราแสดงไว้ดีแล้ว อถ สงฺฆํ สเรยฺยาถ
ที่นั้นพึงระลึกถึงพระสงฆ์
ปุญฺญกฺเขตฺตํ อนุตฺตรํ
ซึ่งเป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาอื่นยิ่งกว่า เอวํ พุทฺธํ สรนฺตานํ ธมฺมํ สงฺฆญฺจ ภิกฺขโว
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เมื่อท่านทั้งหลายมาระลึกถึงพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์อยู่อย่างนี้ ภยํ วา ฉมฺภิตตฺตํ วา โลมหํโส น เหสฺสตีติ ฯ
ความกลัวก็ดี ความหวาดสะดุ้งก็ดี ขนพองสยองเกล้าก็ดี จักไม่มีแลฯ


________________________________________________________________________________________________


ไม่สงวนลิขสิทธิ์ ใช้ศึกษาเป็นธรรมทาน
sthamma.net | Go to Top page2